หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ความหลากหลายทางชีวภาพทางการเกษตร เป็นคำที่มีความหมายกว้างมาก โดยรวมทุกองค์ประกอบที่อยู่ในระบบนิเวศของพื้นที่เกษตร ซึ่งไม่เน้นเฉพาะพื้นที่ในส่วนที่ทำการเกษตรเท่านั้น แต่ยังหมายรวมและครอบคลุมถึง พื้นที่ที่เป็นห้วยหนองคลองบึงแม่น้ำ ลำธาร ซึ่งถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกและใช้เป็นแหล่งอาหารสำหรับการด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นิพนธ์, เอี่ยมสุภาษิต, อภินันท์, กำนัลรัตน์, กฤษณพงศ์, ไกรเทพ, บรรเทา, จันทร์พุ่ม, ไพโรจน์, อ่อนเรือง, อ่อนนวน, ชนะกุล, จานนท์, ศรีเกต, จริยา, สุวรรณรัตน์, ขวัญชนก, บุปผากิจ, Kevin, Kamp
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: รายงานการสัมมนาวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 3 "สู่ระบบการผลิตอาหารที่ปลอดภัย สร้างมูลค่าเพิ่ม และใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน" 9-11 พฤศจิกายน 2547 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่ 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15637
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15637
record_format dspace
spelling th-psu.2016-156372021-05-17T11:36:14Z หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา นิพนธ์, เอี่ยมสุภาษิต อภินันท์, กำนัลรัตน์ กฤษณพงศ์, ไกรเทพ บรรเทา, จันทร์พุ่ม ไพโรจน์, อ่อนเรือง อ่อนนวน, ชนะกุล จานนท์, ศรีเกต จริยา, สุวรรณรัตน์ ขวัญชนก, บุปผากิจ Kevin, Kamp ความไม่มั่นคงทางอาหาร การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพทางการเกษตร เป็นคำที่มีความหมายกว้างมาก โดยรวมทุกองค์ประกอบที่อยู่ในระบบนิเวศของพื้นที่เกษตร ซึ่งไม่เน้นเฉพาะพื้นที่ในส่วนที่ทำการเกษตรเท่านั้น แต่ยังหมายรวมและครอบคลุมถึง พื้นที่ที่เป็นห้วยหนองคลองบึงแม่น้ำ ลำธาร ซึ่งถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกและใช้เป็นแหล่งอาหารสำหรับการดำรงชีพ พื้นที่ที่ยังคงลักษณะของป่าไม้หรือแม้แต่ไม้ใหญ่ที่ขึ้นในแปลงเพาะปลูก พื้นที่ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ที่รวมถึงพื้นที่บริเวณคันนา คันคลองและขอบถนน เป็นต้น ทุกส่วนมีบทบาทและหน้าที่ที่สำคัญต่อความยั่งยืนของระบบนิเวศทางการเกษตร นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในหัวข้อสาระสำคัญที่สมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ได้ให้ความสนใจและให้ความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าและได้จัดทำเป็นโปรแกรมงานหรือแนวทางในการดำเนินงานสำหรับประเทศภาคีสมาชิกได้ใช้ประกอบการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามพันธกรณี องค์ประกอบของพื้นที่เกษตรในแต่ละส่วนอาจเรียกเป็นนิเวศหรืออีกนัยหนึ่ง คือถิ่นที่อยู่ ปัจจุบันบางส่วนของถิ่นที่อยู่กำลังถูกคุกคามอย่างต่อเนื่องและรุนแรง ภายใต้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มุ่งเน้นระบบการผลิตเป็นหลักและขาดความสนใจที่จะอนุรักษ์นิเวศ ซึ่งเป็นแหล่งรวมชนิดพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นที่มีคุณค่า โครงการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อสิ่งแวดล้อมเป็นโครงการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์โดยกรมวิชาการ เกษตรซึ่งได้รับความช่วยเหลือทางด้านวิชาการและงบประมาณจากรัฐบาลเดนมาร์ก ได้จัดทำโครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร เพื่อสร้างความตระหนักให้กับชุมชนให้มีขีดความสามารถในการวางแผนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพภายในชุมชนโดยชุมชนเองและได้พัฒนาแนวทางการดำเนินงานซึ่งมี 6 ขั้นตอน พร้อมกับได้นำไปทดลองใช้ที่ ตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อเป็นกรณีศึกษา 2015-10-10T06:53:44Z 2021-05-17T11:36:13Z 2015-10-10T06:53:44Z 2021-05-17T11:36:13Z 2547 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15637 th_TH application/pdf รายงานการสัมมนาวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 3 "สู่ระบบการผลิตอาหารที่ปลอดภัย สร้างมูลค่าเพิ่ม และใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน" 9-11 พฤศจิกายน 2547 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
นิพนธ์, เอี่ยมสุภาษิต
อภินันท์, กำนัลรัตน์
กฤษณพงศ์, ไกรเทพ
บรรเทา, จันทร์พุ่ม
ไพโรจน์, อ่อนเรือง
อ่อนนวน, ชนะกุล
จานนท์, ศรีเกต
จริยา, สุวรรณรัตน์
ขวัญชนก, บุปผากิจ
Kevin, Kamp
หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
description ความหลากหลายทางชีวภาพทางการเกษตร เป็นคำที่มีความหมายกว้างมาก โดยรวมทุกองค์ประกอบที่อยู่ในระบบนิเวศของพื้นที่เกษตร ซึ่งไม่เน้นเฉพาะพื้นที่ในส่วนที่ทำการเกษตรเท่านั้น แต่ยังหมายรวมและครอบคลุมถึง พื้นที่ที่เป็นห้วยหนองคลองบึงแม่น้ำ ลำธาร ซึ่งถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกและใช้เป็นแหล่งอาหารสำหรับการดำรงชีพ พื้นที่ที่ยังคงลักษณะของป่าไม้หรือแม้แต่ไม้ใหญ่ที่ขึ้นในแปลงเพาะปลูก พื้นที่ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ที่รวมถึงพื้นที่บริเวณคันนา คันคลองและขอบถนน เป็นต้น ทุกส่วนมีบทบาทและหน้าที่ที่สำคัญต่อความยั่งยืนของระบบนิเวศทางการเกษตร นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในหัวข้อสาระสำคัญที่สมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ได้ให้ความสนใจและให้ความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าและได้จัดทำเป็นโปรแกรมงานหรือแนวทางในการดำเนินงานสำหรับประเทศภาคีสมาชิกได้ใช้ประกอบการดำเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามพันธกรณี องค์ประกอบของพื้นที่เกษตรในแต่ละส่วนอาจเรียกเป็นนิเวศหรืออีกนัยหนึ่ง คือถิ่นที่อยู่ ปัจจุบันบางส่วนของถิ่นที่อยู่กำลังถูกคุกคามอย่างต่อเนื่องและรุนแรง ภายใต้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มุ่งเน้นระบบการผลิตเป็นหลักและขาดความสนใจที่จะอนุรักษ์นิเวศ ซึ่งเป็นแหล่งรวมชนิดพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นที่มีคุณค่า โครงการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อสิ่งแวดล้อมเป็นโครงการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์โดยกรมวิชาการ เกษตรซึ่งได้รับความช่วยเหลือทางด้านวิชาการและงบประมาณจากรัฐบาลเดนมาร์ก ได้จัดทำโครงการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่เกษตร เพื่อสร้างความตระหนักให้กับชุมชนให้มีขีดความสามารถในการวางแผนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพภายในชุมชนโดยชุมชนเองและได้พัฒนาแนวทางการดำเนินงานซึ่งมี 6 ขั้นตอน พร้อมกับได้นำไปทดลองใช้ที่ ตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อเป็นกรณีศึกษา
format Technical Report
author นิพนธ์, เอี่ยมสุภาษิต
อภินันท์, กำนัลรัตน์
กฤษณพงศ์, ไกรเทพ
บรรเทา, จันทร์พุ่ม
ไพโรจน์, อ่อนเรือง
อ่อนนวน, ชนะกุล
จานนท์, ศรีเกต
จริยา, สุวรรณรัตน์
ขวัญชนก, บุปผากิจ
Kevin, Kamp
author_facet นิพนธ์, เอี่ยมสุภาษิต
อภินันท์, กำนัลรัตน์
กฤษณพงศ์, ไกรเทพ
บรรเทา, จันทร์พุ่ม
ไพโรจน์, อ่อนเรือง
อ่อนนวน, ชนะกุล
จานนท์, ศรีเกต
จริยา, สุวรรณรัตน์
ขวัญชนก, บุปผากิจ
Kevin, Kamp
author_sort นิพนธ์, เอี่ยมสุภาษิต
title หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
title_short หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
title_full หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
title_fullStr หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
title_sort หลักการและแผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรยั่งยืน: กรณีศึกษาตำบลคูขุด อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
publisher รายงานการสัมมนาวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 3 "สู่ระบบการผลิตอาหารที่ปลอดภัย สร้างมูลค่าเพิ่ม และใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน" 9-11 พฤศจิกายน 2547 ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15637
_version_ 1703979489179992064