หุ้นส่วน...ฟื้นฟูทะเลสาบสงขลา
จากการที่รัฐบาล ได้กำหนดให้พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา เป็นพื้นที่ เร่งรัดพัฒนาตามยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจในภาคใต้ เพื่อสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ดังนั้น กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะ หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจในการบังคับใช้มาตรการต่างๆ ตามกฎหมาย เพื่อ ประโยชน์ในการควบคุม ป้อง...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
กรมควบคุมมลพิษ
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15739 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
Summary: | จากการที่รัฐบาล ได้กำหนดให้พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา เป็นพื้นที่
เร่งรัดพัฒนาตามยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจในภาคใต้ เพื่อสร้างคุณภาพ
ชีวิตที่ดีให้แก่ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ดังนั้น กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะ
หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจในการบังคับใช้มาตรการต่างๆ ตามกฎหมาย เพื่อ
ประโยชน์ในการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจาก
ภาวะมลพิษ จึงได้ดำเนินการโครงการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการมลพิษ
จากแหล่งกำเนิดประเภทอุตสาหกรรมในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา โดย
กำหนดให้มีการจัดทำคู่มือเเนวทางการปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ ในการจัดการ
มลพิษจากแหล่งกำเนิดประเภทอุตสาหกรรมขึ้น
คู่มือฉบับนี้จัดทำขึ้นภายใต้กิจกรรม “หุ้นส่วน…ฟื้นฟูทะเลสาบสงขลา”
ซึ่งมีทั้งหมด 5 เล่ม ประกอบด้วยคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและ
ลดมลพิษใน 5 อุตสาหกรรม (อาหารสัตว์ น้ำยางข้น ยางแผ่นรมควัน อาหาร
ทะเลแช่เยือกแข็ง และ อาหารแปรรูป) โดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างความรู้
ความเข้าใจและตระหนักในการลดมลพิษของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม และ
จะเป็นประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ผู้ประกอบการ นอกจากนี้ ยัง
ส่งเสริมแนวทางในการลดปริมาณของเสียที่เกิดจากการผลิต และช่วยให้
กิจการของผู้ประกอบการมีสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนในท้องถิ่นที่ตั้งโรงงานอีกด้วย |
---|