การควบคุมมลพิษ และผลผลิตประมงอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา

ประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบทะเลสาบสงขลาส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตพึ่งพิง ผลผลิตประมงจากทะเลสาบสงขลามาแต่อดีต ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมากิจกรรม ทางเศรษฐกิจรอบทะเลสาบสงขลาเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งอุตสาหกรรม ปศุสัตว์ นากุ้ง รวมถึงการเติบโตของชุมชน ของเสียจำนวนมากจึงถูกถ่ายเท ลงทะเลสาบสงขลา ส่งผลให้คุณภาพน้ำในท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Format: Book
Language:th_TH
Published: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15892
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
Description
Summary:ประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบทะเลสาบสงขลาส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตพึ่งพิง ผลผลิตประมงจากทะเลสาบสงขลามาแต่อดีต ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมากิจกรรม ทางเศรษฐกิจรอบทะเลสาบสงขลาเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งอุตสาหกรรม ปศุสัตว์ นากุ้ง รวมถึงการเติบโตของชุมชน ของเสียจำนวนมากจึงถูกถ่ายเท ลงทะเลสาบสงขลา ส่งผลให้คุณภาพน้ำในทะเลสาบสงขลาเสื่อมโทรมลง กระทบต่อผลผลิตสัตว์น้ำในทะเลสาบสงขลา ผลการศึกษาพบว่าภาวะมลพิษในทะเลสาบสงขลาส่งผลให้ผลผลิต ประมงในทะเลสาบลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่าเทคโนโลยี การบำบัดน้ำเสียขั้นสูง มีต้นทุนการบำบัดเฉลี่ยต่อหน่วยมลพิษต่ำกว่า เทคโนโลยีพื้นฐาน และพบว่าระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนขนาดเล็ก จะมีต้นทุน การบำบัดเฉลี่ยต่อหน่วยมลพิษต่ำกว่าระบบบำบัดน้ำชุมชนขนาดใหญ่ และข้อเสนอเชิงนโยบายจากการศึกษานี้คือ การใช้กลไกการสร้าง แรงจูง (market-based mechanisms) ให้ผู้ก่อมลพิษสนใจพัฒนาเทคโนโลยี บำบัดน้ำเสียเพื่อลดมลพิษจากการผลิตของตน โดยได้เสนอให้ใช้ “ใบอนุญาต การปล่อยน้ำเสียชนิดเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ได้” (Tradable Discharge Permit: TDP) เป็นเครื่องมือควบคุมการปล่อยมลพิษของผู้ผลิตรายใหญ่ และใช้ “ค่าธรรมเนียมในการปล่อยน้ำเสีย” (Emission Charge System: ECS) เป็นเครื่องมือควบคุมผู้ผลิตที่มีขนาดกลางและขนาดเล็ก