โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน
ปัจจุบันเทศบาลทุกแห่งได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่สีเขียว เพราะเป็นภารกิจหนึ่งของเทศบาลที่ได้มีการกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 นอกจากนั้น การพัฒนาพื้นที่สีเขียวในชุมชนยังถือเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สามารถบ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ซึ่งเป็นลักษณะข้อหนึ่งของเมืองน่าอยู่ (health c...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16940 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-16940 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-169402021-05-17T13:43:26Z โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณภาพสิ่งแวดล้อม การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ปัจจุบันเทศบาลทุกแห่งได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่สีเขียว เพราะเป็นภารกิจหนึ่งของเทศบาลที่ได้มีการกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 นอกจากนั้น การพัฒนาพื้นที่สีเขียวในชุมชนยังถือเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สามารถบ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ซึ่งเป็นลักษณะข้อหนึ่งของเมืองน่าอยู่ (health cities) ตามข้อกำหนดขององค์การ อนามัยโลก (World Health Organization) แม้ว่าความพยายามในอันที่จะเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชน ซึ่งได้ริเริ่มมาเป็นเวลานานแล้ว แต่ยังไม่ได้มีการหามาตรการที่เหมาะสม และสามารถที่จะนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ จึงได้กำหนดให้มีการศึกษาเพื่อจัดทำมาตรการในการเพิ่ม และการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน และได้มอบหมายให้คณะ วนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยศูนย์วิจัยป่าไม้ ดำเนินการศึกษาเพื่อจัดหามาตรการในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชน ตลอดจนถึงการจัดการพื้นที่สีเขียวให้ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การศึกษาเพื่อจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน ได้ดำเนินการโดยวิธีการบูรณาการแนวคิดต่างๆ ทั้งสามแนวคิด อันได้แก่ แนวคิดที่ใช้หลักเกณฑ์ในทางผังเมืองและภูมิสถาปัตย์ แนวคิดของการใช้เครื่องมือเศรษฐศาสตร์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และแนวคิดในการปรับปรุงกฎหมายและระเบียบเพื่อนำไปสู่การ ปฏิบัติ เพื่อประกอบการกำหนดรูปแบบของมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน 2015-10-05T03:18:58Z 2021-05-17T13:43:25Z 2015-10-05T03:18:58Z 2021-05-17T13:43:25Z 2547 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16940 th_TH application/octet-stream สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม |
spellingShingle |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
description |
ปัจจุบันเทศบาลทุกแห่งได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่สีเขียว เพราะเป็นภารกิจหนึ่งของเทศบาลที่ได้มีการกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 นอกจากนั้น การพัฒนาพื้นที่สีเขียวในชุมชนยังถือเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สามารถบ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน ซึ่งเป็นลักษณะข้อหนึ่งของเมืองน่าอยู่ (health cities) ตามข้อกำหนดขององค์การ
อนามัยโลก (World Health Organization) แม้ว่าความพยายามในอันที่จะเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชน ซึ่งได้ริเริ่มมาเป็นเวลานานแล้ว แต่ยังไม่ได้มีการหามาตรการที่เหมาะสม และสามารถที่จะนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ จึงได้กำหนดให้มีการศึกษาเพื่อจัดทำมาตรการในการเพิ่ม และการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน และได้มอบหมายให้คณะ
วนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยศูนย์วิจัยป่าไม้ ดำเนินการศึกษาเพื่อจัดหามาตรการในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชน ตลอดจนถึงการจัดการพื้นที่สีเขียวให้ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การศึกษาเพื่อจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน ได้ดำเนินการโดยวิธีการบูรณาการแนวคิดต่างๆ ทั้งสามแนวคิด อันได้แก่ แนวคิดที่ใช้หลักเกณฑ์ในทางผังเมืองและภูมิสถาปัตย์ แนวคิดของการใช้เครื่องมือเศรษฐศาสตร์เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และแนวคิดในการปรับปรุงกฎหมายและระเบียบเพื่อนำไปสู่การ
ปฏิบัติ เพื่อประกอบการกำหนดรูปแบบของมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
format |
Other |
author |
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
author_facet |
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
author_sort |
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
title |
โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
title_short |
โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
title_full |
โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
title_fullStr |
โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
title_full_unstemmed |
โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
title_sort |
โครงการจัดทำมาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียว ในเขตชุมชนอย่างยั่งยืน |
publisher |
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16940 |
_version_ |
1703979045047238656 |