โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา จัดทำขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่17 ธันวาคม 2545 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ให้คืนสภาพความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่ และใช้เป็นฐาน...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, คณะการจัดการส่ิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, มหาวิทยาลัยทักษิณ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16942
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-16942
record_format dspace
spelling th-psu.2016-169422021-05-17T13:43:29Z โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการส่ิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คุณภาพสิ่งแวดล้อม การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์ แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา จัดทำขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่17 ธันวาคม 2545 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ให้คืนสภาพความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่ และใช้เป็นฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนได้อย่างยั่งยืนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ว่าจ้าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นผู้ศึกษา โดยมีขั้นตอน กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งราชการส่วนกลาง ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ และประชาชนในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาตั้งแต่เริ่มต้น ได้แก่ การพิจารณาขอบเขตการศึกษา การพิจารณารายงาน และการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายทั้งสิ้น 2 ครั้ง ทั้งนี้ในแต่ละขั้นตอนการศึกษา มีคณะกรรมการกำกับการศึกษา ที่มีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทนจากภาคประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ร่วมกันพิจารณาให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ และครอบคลุมประเด็นต่างๆทำให้แผนแม่บทฉบับนี้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะทำให้ผลจากการแปลงแผนแม่บท ไปสู่การปฏิบัติเกิดผลเป็นรูปธรรมที่น่าพอใจ ตามวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลกำหนดไว้ทั้งในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว 2015-10-05T09:16:04Z 2021-05-17T13:43:29Z 2015-10-05T09:16:04Z 2021-05-17T13:43:29Z 2548 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16942 th_TH application/octet-stream สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic คุณภาพสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์
spellingShingle คุณภาพสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะการจัดการส่ิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
description แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา จัดทำขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่17 ธันวาคม 2545 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ให้คืนสภาพความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาและการอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่ และใช้เป็นฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนได้อย่างยั่งยืนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ว่าจ้าง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณและมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นผู้ศึกษา โดยมีขั้นตอน กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทั้งราชการส่วนกลาง ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ และประชาชนในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาตั้งแต่เริ่มต้น ได้แก่ การพิจารณาขอบเขตการศึกษา การพิจารณารายงาน และการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นจากทุกฝ่ายทั้งสิ้น 2 ครั้ง ทั้งนี้ในแต่ละขั้นตอนการศึกษา มีคณะกรรมการกำกับการศึกษา ที่มีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทนจากภาคประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ร่วมกันพิจารณาให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ และครอบคลุมประเด็นต่างๆทำให้แผนแม่บทฉบับนี้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะทำให้ผลจากการแปลงแผนแม่บท ไปสู่การปฏิบัติเกิดผลเป็นรูปธรรมที่น่าพอใจ ตามวัตถุประสงค์ที่รัฐบาลกำหนดไว้ทั้งในระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว
format Other
author สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะการจัดการส่ิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
author_facet สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะการจัดการส่ิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
author_sort สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
title โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_short โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_full โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_fullStr โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_full_unstemmed โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_sort โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
publisher สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16942
_version_ 1703979240254341120