การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา
บนสันเขาของเกาะใหญ่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานลมสูงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีการศึกษาวิเคราะห์พบว่าสามารถติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่ (3 MW) ได้จำนวนทั้งหมด 22 ตัว จากการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ฟาร์ม คือ ฟาร์มที่ 1 บริเวณเขาเกาะใหญ่ (ควนสีปาน) ฟาร์มที่ 2 บริเวณเขาขว...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2016
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17002 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-17002 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-170022022-06-28T03:14:40Z การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา อดุลย์ เบ็ญนุ้ย และคณะ ภูมิสารสนเทศ บนสันเขาของเกาะใหญ่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานลมสูงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีการศึกษาวิเคราะห์พบว่าสามารถติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่ (3 MW) ได้จำนวนทั้งหมด 22 ตัว จากการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ฟาร์ม คือ ฟาร์มที่ 1 บริเวณเขาเกาะใหญ่ (ควนสีปาน) ฟาร์มที่ 2 บริเวณเขาขวาง และฟาร์มที่ 3 บริเวณเขาตะโหนด โดยสามารถติดตั้งกังหันลมได้จำนวน 8 10 และ 4 ตัว ตามลำดับ ได้ทำการวิเคราะห์พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการมองเห็นกังหันลม ในระยะ 15 กิโลเมตร จากตำแหน่งที่ตั้งกังหันลม พบว่ามีพื้นที่ที่ไม่สามารถมองเห็นกังหันลมกับพื้นที่ที่สามารถมองเห็นกังหันลม ในฟาร์มที่ 1 ร้อยละ 13.80 และ 86.20 ฟาร์มที่ 2 ร้อยละ 16.58 และ 83.42 และฟาร์มที่ 3 ร้อยละ 20.76 และ 79.24 ตามลำดับ และเมื่อทำการวิเคราะห์พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการมองเห็นกังหันลมเฉพาะบริเวณที่เป็นที่ตั้งของหมู่บ้าน ชุมชน และถนนสายหลัก ในระยะ 5 กิโลเมตร จากตำแหน่งที่ตั้งกังหันลม พบว่าเฉพาะในเขตตำบลเกาะใหญ่และตำบลกระแสสินธุ์ มีพื้นที่ที่ไม่สามารถมองเห็นกังหันลมประมาณร้อยละ 21.02 และมีพื้นที่ที่สามารถมองเห็นกังหันลมร้อยละ 78.98 โดยสามารถมองเห็นกังหันลมได้สูงสุด 17 ตัว ในพื้นที่บริเวณเดียวกัน ซึ่งผลกระทบจากการมองเห็นกังหันลมสามารถเกิดขึ้นได้ในระยะ 12 กิโลเมตร (ตามค่าทัศนวิสัยเฉลี่ย 30 ปี ของจังหวัดสงขลา) ทั้งด้านลบและด้านบวก กล่าวคือ กังหันลมเป็นสิ่งแปลกปลอมซึ่งหากมองในขณะขับขี่ยานพาหนะบนถนนอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ หรือในบริเวณที่สามารถมองเห็นกังหันลมได้จำนวนหลายตัว สามารถกำหนดเป็นจุดชมทัศนียภาพสำหรับพัฒนาการท่องเที่ยวได้ ผลของการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับการดำเนินการก่อสร้างโครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไปในอนาคต 2016-01-19T07:44:16Z 2021-05-17T15:13:14Z 2016-01-19T07:44:16Z 2021-05-17T15:13:14Z 2555 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17002 th_TH application/octet-stream สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ภูมิสารสนเทศ |
spellingShingle |
ภูมิสารสนเทศ อดุลย์ เบ็ญนุ้ย และคณะ การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
description |
บนสันเขาของเกาะใหญ่ ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานลมสูงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีการศึกษาวิเคราะห์พบว่าสามารถติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ่ (3 MW) ได้จำนวนทั้งหมด 22 ตัว จากการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ฟาร์ม คือ ฟาร์มที่ 1 บริเวณเขาเกาะใหญ่ (ควนสีปาน) ฟาร์มที่ 2 บริเวณเขาขวาง และฟาร์มที่ 3 บริเวณเขาตะโหนด โดยสามารถติดตั้งกังหันลมได้จำนวน 8 10 และ 4 ตัว ตามลำดับ ได้ทำการวิเคราะห์พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการมองเห็นกังหันลม ในระยะ 15 กิโลเมตร จากตำแหน่งที่ตั้งกังหันลม พบว่ามีพื้นที่ที่ไม่สามารถมองเห็นกังหันลมกับพื้นที่ที่สามารถมองเห็นกังหันลม ในฟาร์มที่ 1 ร้อยละ 13.80 และ 86.20 ฟาร์มที่ 2 ร้อยละ 16.58 และ 83.42 และฟาร์มที่ 3 ร้อยละ 20.76 และ 79.24 ตามลำดับ และเมื่อทำการวิเคราะห์พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการมองเห็นกังหันลมเฉพาะบริเวณที่เป็นที่ตั้งของหมู่บ้าน ชุมชน และถนนสายหลัก ในระยะ 5 กิโลเมตร จากตำแหน่งที่ตั้งกังหันลม พบว่าเฉพาะในเขตตำบลเกาะใหญ่และตำบลกระแสสินธุ์ มีพื้นที่ที่ไม่สามารถมองเห็นกังหันลมประมาณร้อยละ 21.02 และมีพื้นที่ที่สามารถมองเห็นกังหันลมร้อยละ 78.98 โดยสามารถมองเห็นกังหันลมได้สูงสุด 17 ตัว ในพื้นที่บริเวณเดียวกัน ซึ่งผลกระทบจากการมองเห็นกังหันลมสามารถเกิดขึ้นได้ในระยะ 12 กิโลเมตร (ตามค่าทัศนวิสัยเฉลี่ย 30 ปี ของจังหวัดสงขลา) ทั้งด้านลบและด้านบวก กล่าวคือ กังหันลมเป็นสิ่งแปลกปลอมซึ่งหากมองในขณะขับขี่ยานพาหนะบนถนนอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ หรือในบริเวณที่สามารถมองเห็นกังหันลมได้จำนวนหลายตัว สามารถกำหนดเป็นจุดชมทัศนียภาพสำหรับพัฒนาการท่องเที่ยวได้ ผลของการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับการดำเนินการก่อสร้างโครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไปในอนาคต |
format |
Other |
author |
อดุลย์ เบ็ญนุ้ย และคณะ |
author_facet |
อดุลย์ เบ็ญนุ้ย และคณะ |
author_sort |
อดุลย์ เบ็ญนุ้ย และคณะ |
title |
การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
title_short |
การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
title_full |
การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
title_fullStr |
การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
title_full_unstemmed |
การประยุกต์ใช้GIS.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
title_sort |
การประยุกต์ใช้gis.ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการมองเห็น กรณีศึกษาทุ่งกังหันลมบริเวณเกาะใหญ่ อ.กระแสสินธิ์ จ.สงขลา |
publisher |
สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2016 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17002 |
_version_ |
1739851636917927936 |