การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)

โครงการพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ระยะที่ 2 ได้ทำการปรับปรุงรูปตัดขวางลำน้ำของคลองอู่ตะเภา โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจของกรมชลประทาน และได้เพิ่มคลองระบายน้ำ ร.1 ขึ้นอีกหนึ่งคลอง เพื่อช่วยในการระบายน้ำออกจากเมือง ผลการจำลองการเกิดสถานการณ์น้ำท่วมในปี พ.ศ. 2552 เมื่อมีปริมาณน้ำท่าเท่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล, ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
Format: Other
Language:th_TH
Published: สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17004
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-17004
record_format dspace
spelling th-psu.2016-170042021-05-17T15:13:17Z การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ ภูมิสารสนเทศ โครงการพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ระยะที่ 2 ได้ทำการปรับปรุงรูปตัดขวางลำน้ำของคลองอู่ตะเภา โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจของกรมชลประทาน และได้เพิ่มคลองระบายน้ำ ร.1 ขึ้นอีกหนึ่งคลอง เพื่อช่วยในการระบายน้ำออกจากเมือง ผลการจำลองการเกิดสถานการณ์น้ำท่วมในปี พ.ศ. 2552 เมื่อมีปริมาณน้ำท่าเท่ากับ 1,000 ลบ.ม./วินาที พบว่า จะมีน้ำล้นตลิ่งในพื้นที่ลุ่มต่ำริมคลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำ ร.1 เพียงเล็กน้อย สอดคล้องกับสถานการณ์จริง และเมื่อจำลองสถานการณ์ในปี พ.ศ.2553 ซึ่งมีปริมาณน้ำท่ามากถึง 1,600 ลบ.ม./วินาที พบว่า น้ำจะท่วมเฉพาะพื้นที่ลุ่มต่ำในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่เกือบทั้งหมด ซึ่งยังไม่สอดคล้องกับสถานการณ์จริง ที่ท่วมพื้นที่ทั้งหมด ทั้งนี้ มีสาเหตุมาจากการใช้แบบจำลองการไหลของน้ำในลำน้ำแบบ 1 มิติ ที่ไม่สามารถจำลองการไหลแบบ 2 มิติในกรณีที่น้ำล้นตลิ่งมีปริมาณมาก การพัฒนาแบบจำลองในระยะต่อไป จึงจะทำการจำลองให้ถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้นโดยใช้แบบจำลองทั้ง 1 และ 2 มิติร่วมกัน 2016-01-19T09:09:38Z 2021-05-17T15:13:17Z 2016-01-19T09:09:38Z 2021-05-17T15:13:17Z 2557 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17004 th_TH application/pdf สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ภูมิสารสนเทศ
spellingShingle ภูมิสารสนเทศ
ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
description โครงการพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ระยะที่ 2 ได้ทำการปรับปรุงรูปตัดขวางลำน้ำของคลองอู่ตะเภา โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจของกรมชลประทาน และได้เพิ่มคลองระบายน้ำ ร.1 ขึ้นอีกหนึ่งคลอง เพื่อช่วยในการระบายน้ำออกจากเมือง ผลการจำลองการเกิดสถานการณ์น้ำท่วมในปี พ.ศ. 2552 เมื่อมีปริมาณน้ำท่าเท่ากับ 1,000 ลบ.ม./วินาที พบว่า จะมีน้ำล้นตลิ่งในพื้นที่ลุ่มต่ำริมคลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำ ร.1 เพียงเล็กน้อย สอดคล้องกับสถานการณ์จริง และเมื่อจำลองสถานการณ์ในปี พ.ศ.2553 ซึ่งมีปริมาณน้ำท่ามากถึง 1,600 ลบ.ม./วินาที พบว่า น้ำจะท่วมเฉพาะพื้นที่ลุ่มต่ำในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่เกือบทั้งหมด ซึ่งยังไม่สอดคล้องกับสถานการณ์จริง ที่ท่วมพื้นที่ทั้งหมด ทั้งนี้ มีสาเหตุมาจากการใช้แบบจำลองการไหลของน้ำในลำน้ำแบบ 1 มิติ ที่ไม่สามารถจำลองการไหลแบบ 2 มิติในกรณีที่น้ำล้นตลิ่งมีปริมาณมาก การพัฒนาแบบจำลองในระยะต่อไป จึงจะทำการจำลองให้ถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้นโดยใช้แบบจำลองทั้ง 1 และ 2 มิติร่วมกัน
format Other
author ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
author_facet ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
author_sort ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
title การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
title_short การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
title_full การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
title_fullStr การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
title_full_unstemmed การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
title_sort การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ (ระยะที่ 2)
publisher สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17004
_version_ 1703979429153210368