การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่

การเกิดน้ำท่วมขนาดใหญ่ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ เมื่อปีพ.ศ. 2531 2543 และ 2554 ได้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก การสำรวจระดับน้ำท่วมสูงสุดที่เกิดขึ้นในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าชุมชนเมืองหาดใหญ่ มีพื้นที่น้ำท่วม 40.86 ตร.กม. ร้อยละ 60 ของพื้นที่น้ำท่วมในเขตชุมชนเมืองหาดใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล, ธิรดา ยงสถิตศักดิ์, อดุลย์ เบ็ญนุ้ย, พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย
Format: Other
Language:th_TH
Published: สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17008
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-17008
record_format dspace
spelling th-psu.2016-170082021-05-17T15:13:24Z การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่ ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ อดุลย์ เบ็ญนุ้ย พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย ภูมิสารสนเทศ การเกิดน้ำท่วมขนาดใหญ่ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ เมื่อปีพ.ศ. 2531 2543 และ 2554 ได้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก การสำรวจระดับน้ำท่วมสูงสุดที่เกิดขึ้นในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าชุมชนเมืองหาดใหญ่ มีพื้นที่น้ำท่วม 40.86 ตร.กม. ร้อยละ 60 ของพื้นที่น้ำท่วมในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ มีระดับน้ำท่วม 1-2.5 เมตร บริเวณที่มีความลึกของน้ำท่วมมากที่สุดคือ 4.09 เมตร และต่ำสุด 0.3 เมตร ข้อมูลจากการสำรวจภาคสนาม สามารถนำมาปรับปรุงข้อมูล DEM เดิมของกรมแผนที่ทหาร ได้เป็น DEM ชุดใหม่ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ ข้อมูล DEM ชุดใหม่นี้ นำมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างแบบจำลองพื้นที่น้ำท่วมถึง (Water Planar Surface) ตั้งแต่ระดับ 1 – 9 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง (ร.ท.ก.) เพื่อใช้ในการคาดการณ์โดยประมาณว่ามีพื้นที่ใดบ้างที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำที่กำหนด และมีความเสี่ยงที่จะเกิดน้ำท่วม และได้พัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วม โดยใช้ HEC-RAS HEC-GEORAS ร่วมกับโปรแกรม ARCGIS เพื่อจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยการเกิดน้ำท่วม ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยทำการจำลองสถานการณ์เมื่อมีปริมาณน้ำ ณ สถานี X.44 บ้านหาดใหญ่ใน มีปริมาณน้ำขนาด 600, 900 และ 1600 ลบ.ม./วินาที ผลที่ได้มีความสอดคล้องในระดับหนึ่งของการเกิดน้ำท่วมจริงในปี พ.ศ. 2553 คือ ปริมาณน้ำท่า 600 ลบ.ม./วินาที จะทำให้น้ำเริ่มล้นตลิ่งบริเวณฝั่งขวาของคลองอู่ตะเภา ระดับผิวน้ำสูง 2.31 เมตร ปริมาณน้ำท่า 900 ลบ.ม./วินาที น้ำจะไหลเข้าสูงเมืองหาดใหญ่ ระดับผิวน้ำสูง 6.15 เมตร และปริมาณน้ำท่า 1,600 ลบ.ม./วินาที น้ำจะท่วมเขตเศรษฐกิจของเมืองหาดใหญ่ทั้งหมด ระดับผิวน้ำสูง 8.41 เมตร 2016-01-19T09:12:09Z 2021-05-17T15:13:24Z 2016-01-19T09:12:09Z 2021-05-17T15:13:24Z 2556 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17008 th_TH application/pdf สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ภูมิสารสนเทศ
spellingShingle ภูมิสารสนเทศ
ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
อดุลย์ เบ็ญนุ้ย
พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย
การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
description การเกิดน้ำท่วมขนาดใหญ่ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ เมื่อปีพ.ศ. 2531 2543 และ 2554 ได้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก การสำรวจระดับน้ำท่วมสูงสุดที่เกิดขึ้นในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าชุมชนเมืองหาดใหญ่ มีพื้นที่น้ำท่วม 40.86 ตร.กม. ร้อยละ 60 ของพื้นที่น้ำท่วมในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ มีระดับน้ำท่วม 1-2.5 เมตร บริเวณที่มีความลึกของน้ำท่วมมากที่สุดคือ 4.09 เมตร และต่ำสุด 0.3 เมตร ข้อมูลจากการสำรวจภาคสนาม สามารถนำมาปรับปรุงข้อมูล DEM เดิมของกรมแผนที่ทหาร ได้เป็น DEM ชุดใหม่ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ ข้อมูล DEM ชุดใหม่นี้ นำมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างแบบจำลองพื้นที่น้ำท่วมถึง (Water Planar Surface) ตั้งแต่ระดับ 1 – 9 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง (ร.ท.ก.) เพื่อใช้ในการคาดการณ์โดยประมาณว่ามีพื้นที่ใดบ้างที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำที่กำหนด และมีความเสี่ยงที่จะเกิดน้ำท่วม และได้พัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วม โดยใช้ HEC-RAS HEC-GEORAS ร่วมกับโปรแกรม ARCGIS เพื่อจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยการเกิดน้ำท่วม ในเขตชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยทำการจำลองสถานการณ์เมื่อมีปริมาณน้ำ ณ สถานี X.44 บ้านหาดใหญ่ใน มีปริมาณน้ำขนาด 600, 900 และ 1600 ลบ.ม./วินาที ผลที่ได้มีความสอดคล้องในระดับหนึ่งของการเกิดน้ำท่วมจริงในปี พ.ศ. 2553 คือ ปริมาณน้ำท่า 600 ลบ.ม./วินาที จะทำให้น้ำเริ่มล้นตลิ่งบริเวณฝั่งขวาของคลองอู่ตะเภา ระดับผิวน้ำสูง 2.31 เมตร ปริมาณน้ำท่า 900 ลบ.ม./วินาที น้ำจะไหลเข้าสูงเมืองหาดใหญ่ ระดับผิวน้ำสูง 6.15 เมตร และปริมาณน้ำท่า 1,600 ลบ.ม./วินาที น้ำจะท่วมเขตเศรษฐกิจของเมืองหาดใหญ่ทั้งหมด ระดับผิวน้ำสูง 8.41 เมตร
format Other
author ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
อดุลย์ เบ็ญนุ้ย
พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย
author_facet ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์
อดุลย์ เบ็ญนุ้ย
พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย
author_sort ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล
title การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
title_short การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
title_full การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
title_fullStr การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
title_full_unstemmed การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
title_sort การพัฒนาแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเทศบาลนครหาดใหญ่
publisher สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17008
_version_ 1703978916724604928