การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ในอดีตเคยเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญที่สุดในพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระและที่ราบลุ่มริมทะเลสาบสงขลาในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา ปัจจุบันพื้นที่นาข้าวได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาภัยธรรมชาติ การขาดแคลนแรงงาน และราคาผลผลิตที่ตกต่ำ เกษตรกรจึงหันไปปลูกยางพารา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และคณะ
Format: Other
Language:th_TH
Published: สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17009
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-17009
record_format dspace
spelling th-psu.2016-170092022-06-28T03:37:57Z การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และคณะ ภูมิสารสนเทศ พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ในอดีตเคยเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญที่สุดในพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระและที่ราบลุ่มริมทะเลสาบสงขลาในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา ปัจจุบันพื้นที่นาข้าวได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาภัยธรรมชาติ การขาดแคลนแรงงาน และราคาผลผลิตที่ตกต่ำ เกษตรกรจึงหันไปปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมันในพื้นที่นาร้าง เนื่องจากยางพารามีราคาสูงขึ้นและให้ผลผลิตได้อย่างต่อเนื่องเกือบทั้งปี ในขณะที่ปาล์มน้ำมันได้รับการส่งเสริมให้มีการปลูกเป็นพืชพลังงานทดแทน การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ข้อมูลดาวเทียมในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่นาในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และประเมินความเหมาะสมของที่ดินเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมของพื้นที่นาโดยการวิเคราะห์แบบลำดับชั้น (AHP) ร่วมกับฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่นาในปี พ.ศ. 2554 พบว่าพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลามีพื้นที่นาลดลง 265,717.36 ไร่ หรือร้อยละ 25.30 ของพื้นที่นาทั้งหมดในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา โดยเปลี่ยนเป็นพื้นที่ปลูกยางพารา 182,871.59 ไร่ ไม้ผลผสม 7,772.29 ไร่ ปาล์มน้ำมัน 7,352.26 ไร่ บ่อกุ้งบ่อปลา 37,664.34 ไร่ ชุมชน ที่อยู่อาศัย 16,892.32 ไร่ ไม้พุ่มหรือทุ่งหญ้า 11,730.34 ไร่ และแหล่งน้ำ 1,434.21 ไร่ สำหรับการประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการทำนาโดยจัดทำเป็น 3 ระดับ คือพื้นที่ที่เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง และเหมาะสมน้อย มีพื้นที่ 1,032,676.61 ไร่ 169,383.06 ไร่ และ 114,756 ไร่ หรือร้อยละ 78.42 ร้อยละ 12.86 และร้อยละ 8.71 ตามลำดับ และสามารถจัดแบ่งเขตเกษตรกรรมของพื้นที่นาได้ 5 เขต คือเขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 1 มีพื้นที่ 820,104.66 (ร้อยละ 62.24) ได้แก่ พื้นที่นาที่มีความเหมาะสมของที่ดินสูงและให้ผลผลิตสูง เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 2 มีพื้นที่ 59,667.62 (ร้อยละ 4.53) ได้แก่พื้นที่ที่มีความเหมาะสมของที่ดินปานกลางถึงสูงและมีผลผลิตปานกลาง เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 3 มีพื้นที่ 151,621.38 (ร้อยละ11.51) ได้แก่พื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อยและมีผลผลิตน้อย เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 4 มีพื้นที่ 213,472.90 (ร้อยละ 16.20) ได้แก่พื้นที่นาที่ได้เปลี่ยนสภาพเป็นพื้นทีเกษตรกรรมอื่นๆ หากมีการฟื้นฟูให้เป็นพื้นที่นาต้องใช้งบประมาณและเงินลงทุนสูง เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 5 มีพื้นที่ 72,857.07 (ร้อยละ 5.30) ได้แก่พื้นที่นาที่ได้เปลี่ยนสภาพเป็นพื้นที่ชุมชน หมู่บ้าน บ่อกุ้งบ่อปลา ซึ่งไม่สามารถปรับปรุงเปลี่ยนสภาพเป็นพื้นที่นาข้าวได้อีกต่อไป การศึกษาการจัดเขตเกษตรกรรมของพื้นที่นาเป็นแนวทางหนึ่งในการวางแผนรักษาพื้นที่นาข้าวในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาให้ยั่งยืนต่อไป 2016-01-19T08:44:50Z 2021-05-17T15:13:26Z 2016-01-19T08:44:50Z 2021-05-17T15:13:26Z 2555 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17009 th_TH application/octet-stream สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ภูมิสารสนเทศ
spellingShingle ภูมิสารสนเทศ
ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และคณะ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
description พื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ในอดีตเคยเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญที่สุดในพื้นที่ภาคใต้ โดยเฉพาะพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระและที่ราบลุ่มริมทะเลสาบสงขลาในจังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา ปัจจุบันพื้นที่นาข้าวได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาภัยธรรมชาติ การขาดแคลนแรงงาน และราคาผลผลิตที่ตกต่ำ เกษตรกรจึงหันไปปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมันในพื้นที่นาร้าง เนื่องจากยางพารามีราคาสูงขึ้นและให้ผลผลิตได้อย่างต่อเนื่องเกือบทั้งปี ในขณะที่ปาล์มน้ำมันได้รับการส่งเสริมให้มีการปลูกเป็นพืชพลังงานทดแทน การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ข้อมูลดาวเทียมในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่นาในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และประเมินความเหมาะสมของที่ดินเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมของพื้นที่นาโดยการวิเคราะห์แบบลำดับชั้น (AHP) ร่วมกับฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่นาในปี พ.ศ. 2554 พบว่าพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลามีพื้นที่นาลดลง 265,717.36 ไร่ หรือร้อยละ 25.30 ของพื้นที่นาทั้งหมดในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา โดยเปลี่ยนเป็นพื้นที่ปลูกยางพารา 182,871.59 ไร่ ไม้ผลผสม 7,772.29 ไร่ ปาล์มน้ำมัน 7,352.26 ไร่ บ่อกุ้งบ่อปลา 37,664.34 ไร่ ชุมชน ที่อยู่อาศัย 16,892.32 ไร่ ไม้พุ่มหรือทุ่งหญ้า 11,730.34 ไร่ และแหล่งน้ำ 1,434.21 ไร่ สำหรับการประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการทำนาโดยจัดทำเป็น 3 ระดับ คือพื้นที่ที่เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง และเหมาะสมน้อย มีพื้นที่ 1,032,676.61 ไร่ 169,383.06 ไร่ และ 114,756 ไร่ หรือร้อยละ 78.42 ร้อยละ 12.86 และร้อยละ 8.71 ตามลำดับ และสามารถจัดแบ่งเขตเกษตรกรรมของพื้นที่นาได้ 5 เขต คือเขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 1 มีพื้นที่ 820,104.66 (ร้อยละ 62.24) ได้แก่ พื้นที่นาที่มีความเหมาะสมของที่ดินสูงและให้ผลผลิตสูง เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 2 มีพื้นที่ 59,667.62 (ร้อยละ 4.53) ได้แก่พื้นที่ที่มีความเหมาะสมของที่ดินปานกลางถึงสูงและมีผลผลิตปานกลาง เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 3 มีพื้นที่ 151,621.38 (ร้อยละ11.51) ได้แก่พื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อยและมีผลผลิตน้อย เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 4 มีพื้นที่ 213,472.90 (ร้อยละ 16.20) ได้แก่พื้นที่นาที่ได้เปลี่ยนสภาพเป็นพื้นทีเกษตรกรรมอื่นๆ หากมีการฟื้นฟูให้เป็นพื้นที่นาต้องใช้งบประมาณและเงินลงทุนสูง เขตเกษตรกรรมนาข้าวชั้นที่ 5 มีพื้นที่ 72,857.07 (ร้อยละ 5.30) ได้แก่พื้นที่นาที่ได้เปลี่ยนสภาพเป็นพื้นที่ชุมชน หมู่บ้าน บ่อกุ้งบ่อปลา ซึ่งไม่สามารถปรับปรุงเปลี่ยนสภาพเป็นพื้นที่นาข้าวได้อีกต่อไป การศึกษาการจัดเขตเกษตรกรรมของพื้นที่นาเป็นแนวทางหนึ่งในการวางแผนรักษาพื้นที่นาข้าวในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาให้ยั่งยืนต่อไป
format Other
author ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และคณะ
author_facet ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และคณะ
author_sort ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ และคณะ
title การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_short การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_full การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_fullStr การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_full_unstemmed การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_sort การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อจัดเขตเกษตรกรรมพื้นที่นาข้าวในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
publisher สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17009
_version_ 1739851637118205952