ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17202 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17202 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ธรรมาภิบาล ผลการดำเนินงาน องค์การบริหารส่วนตำบล |
spellingShingle |
ธรรมาภิบาล ผลการดำเนินงาน องค์การบริหารส่วนตำบล ธัญญรัตน์ ทองขาว ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
description |
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563 |
author2 |
บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ |
author_facet |
บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ ธัญญรัตน์ ทองขาว |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ธัญญรัตน์ ทองขาว |
author_sort |
ธัญญรัตน์ ทองขาว |
title |
ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
title_short |
ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
title_full |
ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
title_fullStr |
ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
title_full_unstemmed |
ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
title_sort |
ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2021 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17202 |
_version_ |
1709756009635905536 |
spelling |
th-psu.2016-172022021-08-02T03:09:44Z ความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล Public Opinion regarding Work Performance upon Good Governance Principle of the Thachamoung Sub-District Administrative Organization, Rattaphum District, Songkhla Province ธัญญรัตน์ ทองขาว บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ ธรรมาภิบาล ผลการดำเนินงาน องค์การบริหารส่วนตำบล รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563 This research aimed to study the level of people's opinions on the performance of Thachamouang Subdistrict Administrative Organization (SAO) according to the 6 principles of good governance: moral principles, rule of law, participation, responsibility, worthiness, and transparency. Also, it was to compare the public opinions on the performance according to the good governance principles, divided the personal factors: gender, age, education level, religion, occupation, income, membership of a club or development group in the area, and participation in activities organized by SAO. The data were collected from the 389 samples who were the people living in Thachamouang Subdistrict, Rattaphum District, Songkhla Province by using questionnaire. The data were then analyzed using Frequency, Mean, Standard Deviation, t-test and the F-test. The results showed that the people had opinions about the performance of SAO based on the principles of good governance at a medium level. Governance of rule of law was at the highest mean, followed by responsibility, worthiness, participation, moral principle and transparency, respectively. When comparing the opinions of the public on the performance of SAO classified by the personal characteristics, it was found that gender, occupation, income, religion, membership in clubs or development groups in the area and participation in the activities organized by SAO were different. There was the opinion over the performance of SAO at no difference which was inconsistent with the hypothesis set. The people with different age, educational level would have a different opinion on the performance of SAO at statistically significant 0.05 which was consistent with the research hypothesis. The suggestions from the findings for the improvement of good management in local government administration of SAO included developing communication through the use of various communication channels with the public. For instance, there should be short video clips for presenting information and news to cover all groups of people. This would make people able to access the information more easily and have more opportunities for participation. It can also be used as a channel for people to inquire, suggest or research facts, monitor the work performance of Thachamouang Subdistrict Administrative Organization more easily. This will result in better management according to the principles of good governance. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าชะมวง ตามแนวทางหลักธรรมาภิบาลทั้ง 6 องค์ประกอบ อันได้แก่ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า และหลักความโปร่งใส และเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุ ระดับการศึกษา ศาสนา อาชีพ รายได้ การเป็นสมาชิกชมรมหรือกลุ่มพัฒนาในพื้นที่ และการเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดโดยอบต. โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นตำบลท่าชะมวง จำนวน 389 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ค่าทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่า t–test และค่า F-test ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนมีระดับความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานของอบต.ท่าชะมวงตามแนวทางหลัก ธรรมาภิบาล ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ธรรมาภิบาลด้านหลักนิติธรรมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ธรรมาภิบาลด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใสตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อผลการดำเนินงานของอบต.ท่าชะมวง จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อาชีพ รายได้ ศาสนา การเป็นสมาชิกชมรมหรือกลุ่มพัฒนาในพื้นที่ และการเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดโดยอบต.ท่าชะมวงที่แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานของอบต.ท่าชะมวงตามแนวทางหลักธรรมาภิบาลไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ และประชาชนที่มี อายุ ระดับการศึกษา แตกต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานของอบต. ท่าชะมวงตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย ข้อเสนอแนะสำหรับอบต.ท่าชะมวงที่ควรปรับปรุง คือ ธรรมาภิบาลด้านหลักการมีส่วนร่วม หลักคุณธรรม และหลักความโปร่งใส ซึ่งอบต.ท่าชะมวงควรมีการพัฒนาการสื่อสารโดยการใช้ช่องทางในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารต่างๆ กับประชาชนให้เพิ่มขึ้น เช่น การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านทางแอพพลิเคชั่น ไลน์ เฟซบุ๊ก โดยใช้รูปแบบที่น่าสนใจ เช่น การทำคลิปวิดิโอสั้นในการนำเสนอข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม จะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและมีโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นช่องทางที่ประชาชนจะสอบถาม เสนอแนะ หรือค้นคว้าหาข้อเท็จจริง ตรวจสอบการทำงานของอบต.ท่าชะมวงได้ง่ายยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลที่ดียิ่งขึ้นในการบริหารจัดการตามแนวทางหลักธรรมาภิบาล 2021-08-02T03:08:05Z 2021-08-02T03:08:05Z 2563 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17202 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/vnd.openxmlformats-officedocument.wordprocessingml.document application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |