ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เตชสิทธิ์ ชุมมะ
Other Authors: ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2021
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17216
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17216
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic คุณภาพบริการ
ความพึงพอใจ
spellingShingle คุณภาพบริการ
ความพึงพอใจ
เตชสิทธิ์ ชุมมะ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
description รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563
author2 ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
author_facet ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
เตชสิทธิ์ ชุมมะ
format Theses and Dissertations
author เตชสิทธิ์ ชุมมะ
author_sort เตชสิทธิ์ ชุมมะ
title ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
title_short ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
title_full ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
title_fullStr ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
title_full_unstemmed ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
title_sort ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2021
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17216
_version_ 1709756012367446016
spelling th-psu.2016-172162021-08-04T04:00:01Z ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลาสาขาหาดใหญ่ ภายใต้สถานการณ์เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่หาดใหญ่ Factors Affecting Improvement of Service Quality of Hatyai Branch, Songkhla Provincial Land Office, under the Context of Economic Dynamics in Land and Housing Business of Hatyai District เตชสิทธิ์ ชุมมะ ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563 This piece of research aimed to 1) observes the service quality of the Songkhla Provincial Land Office at Hatyai branch on the customers’ perspective. 2) Compare the service quality of the Songkhla Provincial Land Office at Hatyai branch on the customers’ perspective which was classified accordingly to their personnel factors. 3) Understand the correlation between personnel factors of the customers and the economy and land business circumstance in Hatyai. 4) Explore the correlation between the quality of the service at the office and the economy and land business circumstance in Hatyai, and 5) Provide suggestions on the quality improvement of the service at the office. 350 citizens who visited the land office for services were selected. Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, T-test and f-test with One-way ANOVA, Chi-square, and Pearson Correlation Coefficient were used in the analysis. The results showed that the perspective of the customers toward the service of the Songkhla Provincial Land Office at Hatyai branch was at the excellent level. The highest mean fell into reliability followed by tangibility, customer-centric, customer confidence, and customer responsiveness, respectively. Secondly, the participants moderately aware of the economy and land business circumstances in Hatyai as the highest mean proved that the price of the land in Hatyai area was satisfied, followed by the perception of the participants that the economy and land business circumstance in Hatyai had improved to a satisfactory level. Thirdly, the study revealed that the participants with different careers and incomes reflected a various level of perspectives toward the quality of the service of the Songkhla Provincial Land Office at Hatyai branch as a statistically significant level of .05 while age, level of education, and income related to the perception toward the economy and land business circumstance in Hatyai as a statistically significant level of .05. Moreover, the quality of the service at the Songkhla Provincial Land Office at Hatyai branch showed a positive relationship at the moderate level toward the economy and land business circumstance in Hatyai as a statistically significant level of .01 which r = .414. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ในมุมมองของผู้รับบริการ 2) ศึกษาเปรียบเทียบระดับคุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ในมุมมองของผู้รับบริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการ กับสถานการณ์เศรษฐกิจและธุรกิจที่ดินในอำเภอหาดใหญ่ 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจด้านที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ 5) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่มารับบริการที่สำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ จำนวน 350 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าที และค่าเอฟ ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน ใช้ค่าสถิติไคสแควร์ และหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีระดับคุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ ในมุมมองของผู้รับบริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความน่าเชื่อถือ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยลำดับสุดท้าย คือ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ซึ่งมีระดับความคิดเห็นต่อความรู้สึกเกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจและเรื่องธุรกิจที่ดินภายในอำเภอหาดใหญ่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีอาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีระดับคุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ในมุมมองของผู้รับบริการ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยอายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับระดับความคิดเห็นต่อความรู้สึกเกี่ยวกับสถานการณ์เศรษฐกิจและธุรกิจที่ดินในอำเภอหาดใหญ่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพบว่า คุณภาพการให้บริการของสำนักงานที่ดินจังหวัดสงขลา สาขาหาดใหญ่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง กับสถานการณ์เศรษฐกิจและธุรกิจที่ดินในอำเภอหาดใหญ่ โดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ .414 2021-08-04T03:58:55Z 2021-08-04T03:58:55Z 2563 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17216 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์