การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17265 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17265 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การรักษาคลองรากฟัน |
spellingShingle |
การรักษาคลองรากฟัน ภัทรมน ประไพสิทธิ์ การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 |
author2 |
รวี เถียรไพศาล |
author_facet |
รวี เถียรไพศาล ภัทรมน ประไพสิทธิ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ภัทรมน ประไพสิทธิ์ |
author_sort |
ภัทรมน ประไพสิทธิ์ |
title |
การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
title_short |
การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
title_full |
การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
title_fullStr |
การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
title_sort |
การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี real-time pcr และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2021 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17265 |
_version_ |
1783957334515515392 |
spelling |
th-psu.2016-172652023-11-07T08:25:06Z การศึกษาความชุกของเชื้อเอนเทอโรคอคคัส ฟีคาลิสในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี Real-time PCR และ การเพาะเลี้ยงเชื้อ Prevalence of Enterococcus Faecalis Detected by Real-Time PCR and Cultivation in Failed Root Canal Treated Teeth with Periradicular Lesions ภัทรมน ประไพสิทธิ์ รวี เถียรไพศาล Faculty of Dentistry คณะทันตแพทยศาสตร์ การรักษาคลองรากฟัน วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิทยาศาสตร์สุขภาพช่องปาก))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 Enterococcus faecalis is commonly found in failed root canal treated teeth with periradicular lesions, and there is limited information about the prevalence of E. faecalis in failed root canal treated teeth with periradicular lesions in Thailand. Therefore, the objective of this study was to examine the prevalence of E. faecalis in failed root canal treated teeth with periradicular lesions by real-time PCR and cultivation. Thirty-six samples were collected from 36 root canals with periradicular lesions. All samples were cultured on blood agar and selective medium for detection of enterococci. E. faecalis was identified by colonial morphology, biochemical properties and molecular method, and a number of total bacteria and E. faecalis were recorded. Results showed that the prevalence of E. faecalis in the failed root canal treated teeth with periradicular lesions was 33.3% (11/33 samples) by cultivation and 88.9% (32/36 samples) by real-time PCR. Moreover, the hemolytic E. faecalis strains were found in 13 of 49 strains (26.5%). The hemolytic E. faecalis strains were found to be related to the teeth with sinus tract opening and sensitive/pain to percussion (100%) while only 12.5% of the non-hemolytic strains were found in such conditions. In conclusion, intraradicular infection was still the main cause of the failed root canal treated teeth with periradicular lesions and the prevalence of E. faecalis was 33.3% and 88.9% by culture and real-time PCR, respectively. The hemolytic E. faecalis strains were related to more severe clinical symptoms. This may be due to the hemolytic strains having more virulence factors than non-hemolytic strains, further investigations are needed. Enterococcus faecalis ถูกพบได้บ่อยในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่ มีรอยโรคปลายราก และจากการศึกษาที่ผ่านมามีข้อมูลที่จํากัดเกี่ยวกับความชุกของเชื้อ E. faecalis ดังนั้นการศึกษานี้ ในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของเชื้อ E. faecalis ในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่ มีรอยโรคปลายรากด้วยวิธี real-time PCR และการเพาะเลี้ยงเชื้อ โดยทําการเก็บ 36 ตัวอย่างจาก คลองรากฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายราก นําไปเพาะเลี้ยงบนอาหาร blood agar และ selective medium สําหรับเชื้อ enterococci เพื่อหาเชื้อ E. faecalis ซึ่งเชื้อดังกล่าวถูก วินิจฉัยโดยการตรวจสอบลักษณะโคโลนี คุณสมบัติเฉพาะทางชีวเคมีและวิธีทางโมเลกุลและ บันทึกปริมาณแบคทีเรียทั้งหมดและเชื้อ E. faecalis ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าความชุกของเชื้อ E. faecalis ในฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรคปลายรากเป็นร้อยละ 33.3 (11/33 ซี่) ด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อและร้อยละ 88.9 (32/36 ซี่) ด้วยวิธี real-time PCR นอกจากนี้ยังพบเชื้อ E. faecalis ที่สลายเม็ดเลือดแดง 13 จาก 49 สายพันธุ์ (ร้อยละ 26.5) โดยเชื้อ E. faecalis ที่สลายเม็ด เลือดแดงพบในฟันที่มีรูเปิดทางหนองไหลและมีอาการเมื่อเคาะ (ร้อยละ 100) ในขณะที่เชื้อ E. faecalis ที่ไม่สลายเม็ดเลือดแดงพบลักษณะอาการดังกล่าวเพียงร้อยละ 12.5 สรุปได้ว่าการติดเชื้อ ภายในคลองรากฟันยังคงเป็นสาเหตุหลักของฟันที่ล้มเหลวจากการรักษาคลองรากฟันที่มีรอยโรค ปลายราก โดยพบความชุกของเชื้อ E. faecalis ร้อยละ 33.3 และร้อยละ 88.9 ด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อ และวิธี real-time PCR ตามลําดับ และเชื้อ E. faecalis ที่สลายเม็ดเลือดแดงมีแนวโน้มสัมพันธ์กับ อาการแสดงทางคลินิกที่รุนแรงกว่า เป็นไปได้ว่าสายพันธุ์ดังกล่าวมีปัจจัยการก่อโรคที่รุนแรงกว่า เชื้อ E. faecalis ที่ไม่สลายเม็ดเลือดแดงซึ่งต้องศึกษาเพื่อยืนยันต่อไป 2021-08-07T17:45:31Z 2021-08-07T17:45:31Z 2019 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17265 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |