การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(ฟิสิกส์ประยุกต์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นูรีดา กะลูแป
Other Authors: สมบัติ พุทธจักร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2021
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17268
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17268
record_format dspace
spelling th-psu.2016-172682021-08-31T03:29:21Z การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล Sound Absorption of Natural Rubber Filled with Fibers from the Trunk of Betel Palm and Sugar Palm นูรีดา กะลูแป สมบัติ พุทธจักร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ Faculty of Science and Technology (Science programs) ยางธรรมชาติ ลูกตาล วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(ฟิสิกส์ประยุกต์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562 วัตถุประสงค์การวิจัย คือ ศึกษาการดูดซับเสียงของแผ่นยางธรรมชาติผสมเส้นใย จากลำต้นหมาก (ที่ผ่านการบด ชนิดละเอียดและหยาบ ปริมาณ 0-12 phr) และเส้นใยลูกตาลที่ ปริมาณ 0, 10 และ 20 phr ขึ้นรูปชิ้นทดสอบหนา 1 และ 3 mm ทดสอบการดูดซับเสียงด้วยชุดท่อ คลื่นนิ่ง (Kundt's tube) พบว่ากราฟของค่าสัมประสิทธิ์การดูดซับเสียง α(ƒ) กับความถี่ แสดง ความถี่พ้องการดูดซับเสียงสามตำแหน่งคือ ที่ 250 Hz , 1,500 Hz และ 3,000 Hz เป็นของยาง ของ เส้นใยจากลำตันหมากและเส้นใยลูกตาล ตามลำดับ ขึ้นทดสอบหนา 3 mm ดูดซับเสียงได้ดีที่สุดเมื่อ ผสมเส้นใยจากลำต้นหมากชนิดละเอียดและเส้นใยลูกตาลปริมาณ 20 phr มี αmax(ƒ) = 0.9916 และเมื่อผสมเส้นใยชนิดหยาบมี αmax(ƒ) = 0.9882 ที่ความถี่ 3,000 Hz นำแผ่นยางดูดซับเสียง ส่วนหนึ่งไปทดสอบความหนาแน่น สมบัติการสูญเสียพลังงานภายในเนื้อวัสดุ (tan δ) โดยชุดทดสอบ สมบัติเชิงพลวัตของการบิด ลักษณะทางกายภาพของโครงสร้างภายในของเส้นใย โดยกล้อง SEM และทดสอบสมบัติเชิงกล โดยชุดดึงยางที่ความเร็วคงที่ต่างๆ พบว่าแผ่นยางดูดซับเสียงความ หนา 1 mm ความหนาแน่นมากว่ากว่าแผ่นยางที่หนา 3 mm จึงทำให้แผ่นยางหนา 1 mm ดูดซับ เสียงได้น้อยกว่าแผ่นยางหนา 3 mm และค่าแฟกเตอร์ของการสูญเสีย (tan δ) จากการบิดของยาง ในแต่ละรอบของแผ่นยางหนา 3 mท จะมีค่ามากกว่าของแผ่นยางหนา 1 mm เนื่องจากโครงสร้าง ภายในสามารถกระจายพลังงานได้ดีกว่า ทั้งสารตัวเติมชนิดละเอียดและชนิดหยาบ และความเป็น รูพรุนของแผ่นยางดูดซับเสียงมีรูพรุนที่กว้าง มีรูปร่างเป็นโพรงที่ชัดเจนมีส่วนช่วยในการดูดซับเสียง ทั้งหมดมีการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกันอย่างมีนัยสำคัญกับสมบัติดูดซับเสียง และยังพบว่า ค่าความ ทนต่อแรงตึงและร้อยละการยืดจากสมบัติเขิงกลของแผ่นดูดซับเสียงคือ เมื่อดึงด้วยความเร็วสูง ๆ โซ่ของยางไม่มีเวลาในรีแล็กซ์ มีความเค้นตกค้าง จึงทำให้ยางแข็งแรง มอดูลัสจึงมีค่าสูง และเมื่อดึง ด้วยความเร็วช้าๆ โซ่ของยางมีเวลาในการผ่อนคลาย ทำให้ความเค้นส่วนหนึ่งหายไป มอดูลัสจึงมี ค่าต่ำ The aim of this research was to study sound absorption properties of rubber sheet made from natural rubber filled with broken fibers with fine and coarse size from the Trunk of Betel Palm at different loading of 0 - 12 phr and sugar palm fibers at 0, 10 and 20 phr. The samples were tested by wring a standing wave tube (Kundt's tube). The plot of absorption coefficient and frequency α(ƒ), showed the resonance frequency of absorption at 250 Hz, 1,500 Hz and 3,000 Hz corresponding to that of rubber, Betel palm trunk fibers and sugar palm fibers respectively. The results also showed that at the thickness of 3 mm, the resonance frequency of natural rubber filled with palm fibers of fine size and coarse size gave αmax(ƒ) of 0.9916 and 0.9882 at a frequency of 3,000 Hz, respectively. The test rubber sheet was also used to study the density and internal energy loss properties of materials by the dynamic property test of torgue. The physical properties of the internal structure of fibers were studies by SEM and tensile tester at different constant speeds. It was found that the rubber sheet with 1 mm thickness, had density more than that of 3 mm that made 1 mm test sheet absorb sound less than 3 mm. The loss factor value (tan δ) of 3 mm was higher than that of 1 mm. There were due to the internal structure of 3 mm could disperse energy better for both fine and coarse fillers. As for the porosity of the rubber sheet, wider pores contributed to a better sound absorption properties. Tensile strength and percent elongation of sound absorption sheet showed that when it was pulling at high speed, rubber chain had no time to relax which cause rubber sheet strong and having high modulus. 2021-08-31T03:29:21Z 2021-08-31T03:29:21Z 2562 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17268 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ยางธรรมชาติ
ลูกตาล
spellingShingle ยางธรรมชาติ
ลูกตาล
นูรีดา กะลูแป
การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(ฟิสิกส์ประยุกต์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2562
author2 สมบัติ พุทธจักร
author_facet สมบัติ พุทธจักร
นูรีดา กะลูแป
format Theses and Dissertations
author นูรีดา กะลูแป
author_sort นูรีดา กะลูแป
title การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
title_short การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
title_full การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
title_fullStr การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
title_full_unstemmed การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
title_sort การดูดซับเสียงของยางธรรมชาติผสมเส้นใยจากลำต้นหมากและเส้นใยลูกตาล
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2021
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17268
_version_ 1735499208330313728