ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: โภคี บุญนรากร
Other Authors: วัชรวลี ตั้งคุปตานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2021
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17309
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17309
record_format dspace
spelling th-psu.2016-173092021-10-28T02:46:01Z ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที IoT-based Horses Feeding Automation System โภคี บุญนรากร วัชรวลี ตั้งคุปตานนท์ Faculty of Engineering Management of Information Technology IoT, Lean, Pellet feeding machine, Horse food ไอโอทีลีน เครื่องให้อาหารเม็ด อาหารม้า วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564 Horse Feeding is the primary importance of equine care. However, horse herdsmen often feed them over their needs and not on schedule time. These caused adverse effects on horses' health, including waste of cost, and time. This research aimed to analyze, produce, and develop the horse feeding automation system by using remote control IoT technology. Then, the researcher evaluated the efficiency of time, costs, and process reduction by using IoT technology for embedded computing, which able to control those operation process, for example, the commanding on-off the feeder pipe using servo motor (Servo Motor), counting of each mealtime quantity with a sensor for measuring weight (Load Cell), and humidity measurement to control food quality with a temperature sensor (Digital Temperature and Humidity Sensor: DTH), which able to control, check, and report notifications via the LINE application. The results showed that this developed horse feeding automation system was highly accurate, and zero error which means able to feed foods on schedule and report notifications every single time. The mean dietary weight was 107.53 when the command to feed was 100 grams that the measurement error was 7.65 gram and percentage error was 7.00%. In addition, these processes reduced from eight steps to five steps a month which mean using only one step a day, and the processing times can be reduced by 893 minutes per month. Moreover, the percentage of performance which is 3.33% (Pre-Lean) increased to 14.29% (Post-Lean). Finally, the cost also was reduced to 3,510 Baht per month. การให้อาหารเป็นเรื่องสำคัญที่สุดในการดูแลม้า แต่พบว่าผู้เลี้ยงมักให้อาหารไม่ตรงเวลา หรือให้อาหารปริมาณมากเกินไป ทำให้สิ้นเปลืองด้านต้นทุน เวลา และส่งผลเสียต่อสุขภาพม้า งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบให้อาหารม้าโดยใช้เทคโนโลยีไอโอทีควบคุมระยะไกล และประเมินประสิทธิภาพด้านการลดกระบวนการ เวลา และต้นทุนในการดำเนินงาน โดยการใช้เทคโนโลยีไอโอทีบนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบฝังตัว ที่สามารถควบคุมกระบวนการดำเนินงาน เช่น การสั่งเปิด-ปิดท่อลำเลียงอาหารโดยใช้เซอร์โวมอเตอร์ การตรวจนับปริมาณอาหารแต่ละมื้อด้วยเซ็นเซอร์สำหรับวัดน้ำหนัก การวัดความชื้นเพื่อควบคุมคุณภาพอาหารด้วยเซ็นเซอร์สำหรับวัดอุณหภูมิ ซึ่งสามารถควบคุม ตรวจสอบ และรายงานผลแจ้งเตือนผ่านทางไลน์แอปพลิเคชัน ผลการวิจัยพบว่า ระบบให้อาหารม้าที่พัฒนาขึ้นมีความแม่นยำสูง สามารถให้อาหารได้ตรงเวลาทุกครั้ง และมีการรายงานผลแจ้งเตือนผ่านไลน์แอปพลิเคชันทุกครั้ง ความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0 ส่วนค่าเฉลี่ยของน้ำหนักอาหารเท่ากับ 107.53 เมื่อสั่งให้อาหาร 100 กรัม โดยมีค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 7.65 กรัม ซึ่งคิดเป็น 7.00% ทั้งนี้สามารถลดกระบวนการจาก 8 ขั้นตอน เหลือ 5 ขั้นตอนต่อเดือน และเหลือ 1 ขั้นตอนต่อวัน สามารถลดเวลาลงได้ 893 นาทีต่อเดือน เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานจาก Pre-Lean 3.33% เป็น Post-Lean 14.29% และสามารถลดต้นทุนได้ 3,510 บาทต่อเดือน 2021-10-28T02:40:42Z 2021-10-28T02:40:42Z 2021 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17309 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic IoT, Lean, Pellet feeding machine, Horse food
ไอโอทีลีน เครื่องให้อาหารเม็ด อาหารม้า
spellingShingle IoT, Lean, Pellet feeding machine, Horse food
ไอโอทีลีน เครื่องให้อาหารเม็ด อาหารม้า
โภคี บุญนรากร
ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564
author2 วัชรวลี ตั้งคุปตานนท์
author_facet วัชรวลี ตั้งคุปตานนท์
โภคี บุญนรากร
format Theses and Dissertations
author โภคี บุญนรากร
author_sort โภคี บุญนรากร
title ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
title_short ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
title_full ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
title_fullStr ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
title_full_unstemmed ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
title_sort ระบบให้อาหารม้าแบบอัตโนมัติด้วยไอโอที
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2021
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17309
_version_ 1735499213551173632