ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย

วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นูรดีนี แมเร๊าะ
Other Authors: วราภรณ์ คงสุวรรณ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17360
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17360
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนัก
spellingShingle การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนัก
นูรดีนี แมเร๊าะ
ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559
author2 วราภรณ์ คงสุวรรณ
author_facet วราภรณ์ คงสุวรรณ
นูรดีนี แมเร๊าะ
format Theses and Dissertations
author นูรดีนี แมเร๊าะ
author_sort นูรดีนี แมเร๊าะ
title ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
title_short ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
title_full ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
title_fullStr ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
title_full_unstemmed ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
title_sort ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17360
_version_ 1735499255547691008
spelling th-psu.2016-173602022-01-04T04:50:22Z ประสบการณ์ของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ป่วย Nurses' Experience in palliative Care in Intensive Care Units นูรดีนี แมเร๊าะ วราภรณ์ คงสุวรรณ Faculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนัก วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559 The purposes of the study were to explore and describe nurses’ experience in palliative care in Intensive Care Units (ICUs) using qualitative phenomenological research. The study included 10 registered nurses who worked in ICUs in a tertiary hospital in Narathiwat Province. Data were collected using in-depth individual interviews and analyzed using Colaizzi’s method. Trustworthiness was established following Lincoln and Guba's criteria. The study findings revealed five themes including: 1. The meaning of palliative care in ICUs included seven components (1) caring as holistic care, (2) caring to reduce suffering and to increase quality of life, (3) incorporating relatives’ into the care, (4) caring for both patients and their family, (5) caring focusing on illness, (6) caring initiated together with cure, and (7) caring at the end-of-life. 2. The practices related to palliative care in ICUs included four components (1) supporting comfort and symptom management related to suffering, (2) providing information for decision making, (3) providing mental support, and (4) providing spiritual and belief support. 3. The feeling after providing palliative care in ICUs included three components (1) dedicating themselves in caring, (2) feeling good after caring, and (3) caring based on experience. 4. The barriers of palliative care in ICUs included three components (1) workload, (2) limited facilities, and (3) the relative’s decision-making did not match the patient’s needs. 5. The support needs of palliative care in ICUs included three components (1) reducing workload, (2) building the effective care team, and (3) receiving knowledge from colleagues who have been trained. The study elicited primary information that could help nursing staff understand palliative care and develop and improve the quality of palliative care in ICUs. การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อบรรยายและอธิบายประสบการณ์ของพยาบาลในการ ดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์ วิทยาแบบบรรยาย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหออภิบาลผู้ปุวยในโรงพยาบาล ระดับตติยภูมิ ในจังหวัดนราธิวาส จํานวน 10 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลของ โคไลซ์ซี่ และสร้างความน่าเชื่อถือของงานวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวทางของลินคอล์นและคูบา ผลการศึกษาประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1. ความหมายของการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวย ประกอบด้วย 7 ลักษณะ คือ (1) การดูแลแบบองค์รวม (2) การดูแลที่ลดความทุกข์ทรมานและเพิ่มคุณภาพชีวิต (3) การดูแลให้ญาติเข้ามามีส่วนร่วม (4) การดูแลทั้งผู้ปุวยและครอบครัว (5) การดูแลที่ความเจ็บปุวย (6) การดูแลตั้งแต่ต้นที่ควบคู่กับการรักษา และ (7) การดูแลเมื่อเข้าสู่ระยะท้ายของชีวิต 2. การปฏิบัติการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวย ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ (1) การส่งเสริมความสุขสบายและจัดการอาการทุกข์ทรมาน (2) การให้ข้อมูลเพื่อการ ตัดสินใจของญาติ(3) การดูแลจิตใจ และ (4) การตอบสนองด้านจิตวิญญาณและความเชื่อ 3. ความรู้สึกเมื่อให้การดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวย ประกอบด้วย 3 ลักษณะ คือ (1) รู้สึกทุ่มเทกับการดูแล (2) รู้สึกดีที่ได้ดูแล และ (3) การดูแลด้วยประสบการณ์ 4. ป๎ญหาและอุปสรรคในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวย ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ (1) ภาระงานมาก (2) ทรัพยากรที่มีจํากัด และ (3) การตัดสินใจของญาติไม่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ปุวย 5. ความต้องการการสนับสนุนในการดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวย ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ (1) ลดภาระงาน (2) สร้างทีมผู้ดูแลที่มีประสิทธิภาพ และ (3) ความรู้จาก เพื่อนร่วมงานที่ผ่านการอบรม การศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสําหรับพยาบาลในการเข้าใจการ ดูแลแบบประคับประคอง อีกทั้งยังเป็นการนําข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพของการ ดูแลแบบประคับประคองในหออภิบาลผู้ปุวยให้ดียิ่งขึ้น 2022-01-04T04:50:22Z 2022-01-04T04:50:22Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17360 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์