กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง

สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจำปีงบประมาณ 2559

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธวัช นุ้ยผอม และคณะ
Other Authors: College of Islamic Studies (Islamic Studies)
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17441
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17441
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic อิสลามศึกษา
spellingShingle อิสลามศึกษา
ธวัช นุ้ยผอม และคณะ
กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
description สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจำปีงบประมาณ 2559
author2 College of Islamic Studies (Islamic Studies)
author_facet College of Islamic Studies (Islamic Studies)
ธวัช นุ้ยผอม และคณะ
format Theses and Dissertations
author ธวัช นุ้ยผอม และคณะ
author_sort ธวัช นุ้ยผอม และคณะ
title กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
title_short กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
title_full กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
title_fullStr กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
title_full_unstemmed กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
title_sort กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17441
_version_ 1736861846330146816
spelling th-psu.2016-174412022-06-01T08:07:01Z กระบวนการพัฒนาระบบการจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดสตูลและจังหวัดพัทลุง Developing a Zakat Management System of the Islamic Councils of Satun and Phatthalung ธวัช นุ้ยผอม และคณะ College of Islamic Studies (Islamic Studies) วิทยาลัยอิสลามศึกษา (อิสลามศึกษา) อิสลามศึกษา สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประจำปีงบประมาณ 2559 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและบทบัญญัติเกี่ยวกับคุฏบะฮฺ ศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับการนำเสนอคุฏบะฮฺของเคาะฏีบและผู้ฟังคุฏบะฮฺวันศุกร์ และข้อเสนอแนะจากทั้งสองฝ่าย และศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพของคุฏบะฮฺวันศุกร์ในการพัฒนาสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณโดยอาศัยเอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ทติยภูมิ และเก็บรวมรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. คุฏบะฮฺคือการแสดงปาฐกถาธรรมก่อนละหมาดวันศุกร์ มีข้อบังคับ(รุกุ่น) เงื่อนไข ประเภท ความสำคัญ บทบัญญัติและพิธีกรรมต่างๆ ทั้งก่อนนำเสนอ ขณะนำเสนอ และหลังจากการนำเสนอ บทบัญญัติว่าด้วยการฟังคุฏบะฮฺ เนื้อหาคุฏบะฮฺเป็นส่วนหนึ่งของการดะอฺวะฮฺให้ผู้ฟังได้รับความรู้ ข้อแนะนำ ขัดเกลาจิตสำนึก และข้อเสนอแนะเพื่อแก้ปัญหาของสังคม และคุฏบะฮฺวันศุกร์มีศักยภาพในการพัฒนาสังคม 2. ผลการวิเคราะห์ทัศนคติเกี่ยวกับการนำเสนอคุฏบะฮฺและข้อเสนอแนะจากผู้ฟังคุฏบะฮฺวันศุกร์พบว่าคุฏบะฮฺเป็นส่วนหนึ่งของการดะอฺวะฮฺมวลชน มีผลต่อผู้ฟังเป็นอย่างยิ่งหากผู้ร่วมละหมาดฟังด้วยความตั้งใจและเคาะฏีบนำเสนอด้วยทักษะและวิธีการที่สามารถให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายโดย เน้นเนื้อหาการยึดมั่นกับหลักคำสอนของศาสนาที่มาจากคำภีร์อัลกุรอาน อัสสุนนะฮฺ การประกอบ อิบาดะฮฺ การรำลึกถึงพระองค์อัลลอฮฺ  และรำลึกถึงวันแห่งการตอบแทนในอาคิเราะฮฺ 3. เนื้อหาที่ปรากฏในคุฏบะฮฺวันศุกร์เป็นความรู้และข้อมูลที่มาจากการศึกษา วิเคราะห์และสรุปผลของเคาะฏีบ ถูกเรียบเรียงในรูปแบบความเรียง โดยเน้นการให้คำแนะนำและข้อคิดเพื่อให้ผู้ฟังสามารถนำใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดำรงชีวิตที่ถูกต้องตามหลักการศาสนาและเกิดการยำเกรงต่อพระองค์อัลลอฮฺ  สู่การมีคุณธรรมจริยธรรม อันนำไปสู่การการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 4. ผลจากการวิเคราะห์แบบสอบถามจากเคาะฏีบผู้นำเสนอคุฏบะฮฺวันศุกร์พบว่าคุฏบะฮฺมีเนื้อหาที่เป็นความรู้ผสมผสานการตักเตือน ข้อแนะนำแก่ผู้ร่วมละหมาด เคาะฏีบได้ใช้โอกาสอย่างคุ้มค่าในการนำเสนอสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังทั้งเรื่องโลกดุนยาและเรื่องอาคิเราะฮฺ ใช้ภาษาที่ ผู้ฟังเข้าใจง่าย เรียบเรียงเนื้อหาที่สละสลวย ถึงแม้จะอ่านจากเอกสารก็ตาม แต่สามารถดึงความสนใจ ของผู้ฟังได้โดยเฉพาะในวาระการชุมนุมละหมาดวันศุกร์ซึ่งมีสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง 5. ผลจากการวิเคราะห์แบบสอบถามจากผู้ฟังคุฏบะฮฺวันศุกร์พบว่า ผู้ร่วมละหมาด วันศุกร์มีความหลากหลายด้านวัยวุฒิ การศึกษา อาชีพ ความเข้าใจด้านเนื้อหาและภาษา การนำเสนอ คุฏบะฮฺควรใช้ภาษาถิ่น เนื้อหาควรเป็นเรื่องใกล้ตัวที่เกิดขึ้นในชุมชนและสังคมในรอบสัปดาห์ เน้น การให้ความรู้ใหม่และตักเตือนเรื่องศาสนา แทรกด้วยเรื่องการประกอบอิบาดะฮฺ การขัดเกลาจิตใจ เรื่องคุณธรรมและจริยธรรม หลากหลายหัวข้อและเนื้อหา นำเสนอปัญหาและแนะนำวิธีการแก้ไข ใช้เวลาระหว่าง 15-25 นาที และคุฏบะฮฺสั้นดีกว่าคุฏบะฮฺยาว 6. ศักยภาพของคุฏบะฮฺวันศุกร์เพื่อการพัฒนาสังคมขึ้นอยู่กับการนำเสนอของ เคาะฏีบที่มีทักษะและความสามารถในการนำ เสนอเนื้อหาที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง ผู้ตอบ แบบสอบถามร้อยละ 85 ตอบว่าความรู้ที่ได้จากการฟังคุฏบะฮฺเป็นความรู้ที่เคยศึกษาและทราบจาก สื่อต่างๆ ที่มีในปัจจุบัน เคาะฏีบเพียงแค่เรียบเรียงประโยคเป็นเนื้อหาใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาเก่าที่ คนส่วนใหญ่เคยฟังมาหลายครั้ง แต่ยอมฟังได้เพราะถือว่าเป็นการตักเตือน เพราะเรื่องศาสนาไม่ จำเป็นต้องเป็นเรื่องใหม่เสมอ เรื่องเก่าก็ยังคงใช้ได้หากนำมาประยุกค์ใช้ให้ถูกวิธีและปฏิบัติอย่าง ต่อเนื่อง ส่วนผู้ฟังร้อยละ 15 ตอบว่าเนื้อหาคุฏบะฮฺเป็นความรู้ใหม่ที่ยังไม่เคยฟังจากที่ใดมาก่อน จึง สนใจที่จะฟังและติดตาม This study aims i) to investigate meanings and provisions regarding Friday sermons (Khutbah), ii) to examine attitudes towards speeches delivered by Khatib (the individual who delivers the Khutbah) and the Khutbah attendees as well as the suggestions from the stakeholders and iii) to analyze the potential of the Friday sermons and social development in southernmost provinces of Thailand. Qualitative and quantitative analyses were used in this study namely, primary data, secondary data and data collection. The findings are as follows: 1. Khutbah is speech delivery before Friday prayer consisting of Islamic principles (Rukun), conditions, types, significance, provisions and practices in the processes of pre-, while- and post-speech delivering. According to the provision on taking part Friday sermon, its content is regarded to be part of preaching of Islam providing knowledge, advice, and reminders to those who listen to the sermon in order to solve social problems. Moreover, Friday sermon is considered the potential in social development. 2. The findings according to the attitudes towards Khatibs’ speech delivery and the attendees’ suggestions show that Khutbah is part of Islamic dissemination (Dahwah) affecting those who listen attentively. Furthermore, Khatibs skillfully and professionally convey messages which are digested to be easily understood for them. The contents are mainly focused on Islamic beliefs (Aqidah), Islamic principles which extract from al-Quran and al-Sunnah, Islamic practices, remembrance of Allah (Zikrullah) and remembrance of the Day of the Judgment (Akhirah Day). 3. The content of Friday sermons appears to be knowledge and information analyzed and summarized by Khatibs, and it is basically rearranged to be new essays focusing on advice and reminders which the attendees can apply in their daily lives following Islamic principles and fear of Allah (Taqwa) towards morality and ethics which lead to be sustainable development. 4. The findings according to the analyses of the questionnaire completed by Khatibs are illustrated that the content of Friday sermons is blended knowledge of advice and reminders to Friday prayer performers. Khatibs use this precious occasion to convey messages which are beneficial for them in both this world and the hereafter. Even though, to some extent, it is read from certain written texts, they attempt to systematically simplify the language to be more interesting in particular a congregational Friday prayer which is a weekly prayer for all Muslims. 5. The findings from the analyses of the questionnaire completed by those who listen to Friday sermons show that they are diverse in respect of age, education, occupation, content comprehensibility and language. Besides, the language used in the speech delivery should be their dialect and the content should be certain weekly issues occurred in the community prioritizing knowledge and religious advice and integrating religious practices, mental refinement, morality and ethics. The speech delivery is ranged between 15 to 25 minutes, and the short sermon seems to be more preferable. 6. The potential of Friday sermon for social development relies on Khatibs’ ability of the speech delivery which can benefit the attendees. Eighty- five percent of the informants responded that the obtained knowledge from the speech is basically known knowledge which they used to learn and acquire from current social media. However, it can be acceptable for them to listen to speeches repeatedly since they can be righteous advice and the religious issues, to some extent, do not have to be new. Certain topics which have been covered can be restated in the Friday sermon if they are applied efficiently and practiced consistently. On the other hand, fifteen percent of them responded that the content of the Friday sermon is new, and they never hear elsewhere and make them interested in it and follow it attentively. 2022-06-01T08:07:00Z 2022-06-01T08:07:00Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17441 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี