การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พิสชา เชาวน์วุฒิกุล
Other Authors: อรญา สุวรรณโณ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17465
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17465
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การยอมรับและการใช้เทคโนโลยี
คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์
ความตั้งใจใช้บริการ
แอปพลิเคชัน ALIST OPAC
spellingShingle การยอมรับและการใช้เทคโนโลยี
คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์
ความตั้งใจใช้บริการ
แอปพลิเคชัน ALIST OPAC
พิสชา เชาวน์วุฒิกุล
การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
description บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565
author2 อรญา สุวรรณโณ
author_facet อรญา สุวรรณโณ
พิสชา เชาวน์วุฒิกุล
format Theses and Dissertations
author พิสชา เชาวน์วุฒิกุล
author_sort พิสชา เชาวน์วุฒิกุล
title การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
title_short การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
title_full การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
title_fullStr การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
title_full_unstemmed การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
title_sort การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน alist opac กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17465
_version_ 1744373435578974208
spelling th-psu.2016-174652022-09-13T03:55:17Z การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC กรณีศึกษา สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ A Study of Factors Influencing Intention to Use ALIST OPAC Application: A Case Study of Khunying Long Athakravisunthorn Learning Resources Center Prince of Songkla University พิสชา เชาวน์วุฒิกุล อรญา สุวรรณโณ Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ การยอมรับและการใช้เทคโนโลยี คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ ความตั้งใจใช้บริการ แอปพลิเคชัน ALIST OPAC บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 The objective of this study was to study the influence of technology acceptance factors (UTAUT) and E-service quality factors impact to intention to use ALIST OPAC application. This study was quantitative research, was conducted from 385 people who have used ALIST OPAC application: a case study of Khunying Long Athakravisunthorn Resources Center, Prince of Songkla University. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation and multiple linear regression analysis. The result shows that most the respondents are female, aging between 20 – 30 years old. They are an undergraduate student and have experience in using the service of the application less than 1 month. The most service that they use is search information resources. The importance of technology acceptance factors (UTAUT) has the highest level, including performance expectancy, facilitating conditions, social influence and effort expectancy. Also, the importance of E-service quality factors has the highest level, including privacy, credibility, accessibility and responsiveness. Using multiple linear regression analysis on UTUAT factors and E-service quality factors influencing the intention to use ALIST OPAC application, the result founds that there are only two independent factors by facilitating conditions and privacy that influencing to intention to use. (Statistically significant at the 0.05 level) The study suggests the benefit to application developer and service providers. Application developers and service providers can use the findings of the ALIST OPAC application study to improve service development for user’s needs. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำคัญของการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ และความตั้งใจใช้บริการของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC (2) ศึกษาปัจจัยด้านการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี ที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC และ (3) ศึกษาปัจจัยด้านคุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC ซึ่งเป็นวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ใช้บริการของสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ที่เคยใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC จำนวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) และการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression) โดยงานวิจัยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุที่ 20 - 30 ปี ประเภทสมาชิกเป็นนักศึกษาปริญญาตรี มีประสบการณ์การใช้บริการน้อยกว่า 1 เดือน และใช้บริการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศมากที่สุด สำหรับผลการศึกษาด้านการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ ด้านสภาพสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านอิทธิพลทางสังคม และด้านความคาดหวังในความพยายาม ตามลำดับ ทั้งนี้ด้านคุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับความสำคัญมากที่สุดเช่นกัน ได้แก่ ด้านความเป็นส่วนตัว ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการเข้าถึงการให้บริการ และด้านการตอบสนองความต้องการ ตามลำดับ และผลการศึกษาจากการใช้วิธีการถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยสภาพสิ่งอำนวยความสะดวก และปัจจัยความเป็นส่วนตัว มีอิทธิพลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลที่ได้จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้พัฒนาและ ผู้ให้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC เพื่อปรับปรุงและพัฒนาแอปพลิเคชัน และส่งเสริมแนวทางรูปแบบการบริการให้ตรงต่อความต้องการของผู้ใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2022-09-13T03:52:30Z 2022-09-13T03:52:30Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17465 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์