ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17466 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17466 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
สวัสดิการที่เป็นตัวเงิน สวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน สารสนเทศ พนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
spellingShingle |
สวัสดิการที่เป็นตัวเงิน สวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน สารสนเทศ พนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา มีนา หมัดเล็ม ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
description |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 |
author2 |
บรรพต วิรุณราช |
author_facet |
บรรพต วิรุณราช มีนา หมัดเล็ม |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มีนา หมัดเล็ม |
author_sort |
มีนา หมัดเล็ม |
title |
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
title_short |
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
title_full |
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
title_fullStr |
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
title_full_unstemmed |
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
title_sort |
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17466 |
_version_ |
1744373421207191552 |
spelling |
th-psu.2016-174662022-09-13T04:02:31Z ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน ของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา The Relationship between Monetary and Non-monetary Benefits of Employees in Private Companies: Case Study in Songkhla Province มีนา หมัดเล็ม บรรพต วิรุณราช Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ สวัสดิการที่เป็นตัวเงิน สวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน สารสนเทศ พนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษา จังหวัดสงขลา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 This mixed-method study is titled The Relationship between Monetary and Non-monetary Benefits of Employees in Private Companies: Case Study in Songkhla Province. The objectives include 1) to understand the relationship between monetary and non-monetary benefits, 2) to investigate employee benefit budget, and 3) to analyze how information technology can be used to for making decisions on employees’ benefits and the knowledge about benefit provision. The samples were gathered from 400 private employees and 9 managers from human resource departments. The instruments consisted of questionnaires and interviews, analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson product-moment correlation. The results indicate that the product-moment correlation between monetary and non-monetary benefit in private companies showed in every factor was positive with statistical significance of 0.01. Additionally, the economic benefit factor, the health care benefit factor, and the future stability benefit factor suggested a high level of relationship with non-monetary benefits. Lastly, the educational benefit factor revealed a middle level of relationship with non-monetary benefits. Moreover, it was found that the benefit budget for both monetary and non-monetary was generally low. The results clarify that the most commonly used types of information consisted of the key performance indicator, absents, leaves, being late for work, training, job descriptions, competition in the labor market, work performance, resignation, and behavior. However, the issue of the unsatisfactory benefit is a key factor contributing problems for organizations and their employees. Therefore, the researcher would like to present the approach for the information utilized to make the decisions regarding employees’ benefits for an effective approach in human resource management. งานวิจัยนี้ใช้การวิจัยผสมวิธีเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงิน และสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงินของพนักงานในบริษัทเอกชน : กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงิน 2) เพื่อทราบ ถึงงบประมาณของสวัสดิการ 3) เพื่อศึกษาการน าสารสนเทศมาช่วยตัดสินใจในการให้สวัสดิการและ การสรรหาองค์ความรู้ในการให้สวัสดิการ กลุ่มอย่างที่ใช้ คือ พนักงานในบริษัทเอกชน จ านวน 400 คน และผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ จ านวน 9 คน และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลจากการวิจัย พบว่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างสวัสดิการที่เป็นตัวเงินกับสวัสดิการ ที่ไม่เป็นตัวเงินในบริษัทเอกชนโดยรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกในทุกด้านอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 ทั้งสวัสดิการด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านความมั่นคงในอนาคตมี ความสัมพันธ์กับสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงินในระดับค่อนข้างสูง และสุดท้ายด้านการศึกษามีความสัมพันธ์ กับสวัสดิการที่ไม่เป็นตัวเงินในระดับปานกลางด้านงบประมาณของสวัสดิการที่เป็นตัวเงินและสวัสดิการ ที่ไม่เป็นตัวเงินโดยภาพรวมปริมาณที่ได้รับน้อย และรูปแบบสารสนเทศที่นิยมใช้ได้แก่ ตัวชี้วัดความส าเร็จ การขาด ลา มาสายการฝึกอบรม ลักษณะงาน การแข่งขันด้านตลาดแรง งาน ประสิทธิภาพในการท างาน ปัญหาการลาออก และความประพฤติแต่อย่างไรก็ตามการจัดสวัสดิการที่ไม่เหมาะสมเป็นส่วนส าคัญ ในการก่อให้เกิดปัญหาให้แก่องค์กรกับพนักงาน ผู้วิจัยจึงได้รูปแบบและวิธีการใช้สารสนเทศในการตัดสินใจ ให้สวัสดิการพนักงาน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2022-09-13T04:01:49Z 2022-09-13T04:01:49Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17466 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |