การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17474 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17474 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-174742022-09-13T07:13:40Z การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา Business Management of Seabass Farming in Value Chain Before Raising Seabass in Cages : Case Study in Songkhla Lake ชาญวิทย์ โครธาสุวรรณ กุลวดี ลิ่มอุสันโน Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ ห่วงโซ่คุณค่า ปลากะพง บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 The research had the objective to study what problems and guidelines for the implementation of Business Management were in the upstream of the value chain of sea bass farming. This research was a qualitative study which was conducted by interviewing 9 sea bass farmers in Songkhla Lake and 1 fishery scholar, thus, Manufacturer and distributor of Material for Raising Seabass 6 people the total number was 16 people. The results of the research that pre-raising value chain system is as follows: 1) Preparation of area for raising seabass. It is an activity in purchasing and procuring Input to be used in the main activities. (Procurement) 2) Procurement of materials and equipment for raising seabass in cages will be an operation activity 3) The procurement process for seabass breeds and seabass nursery is the main activity in the service field is an activity that provides services to add value to the product 4) the process of transporting baby snapper is the main activity in the field of inbound logistics 5) the process of raising seabass cage is the step in the operation is the main activity most important. The results of the total cost analysis revealed that Fixed cost Cage fee 3,920 baht per/cage Ready-to-eat food 493.65 baht per/cage per/day Miscellaneous fish scraps 27 baht per/cage per/day The variable cost is oil energy cost 412 baht per day, electric energy cost 1018.12 baht. per day) and the price of the baby fish is (size 5-7 inches) 17 baht per 1 fish It can be concluded that the break-even point for selling baby snapper sized 5-7 inches must sell at least 3.14 pieces at a price of 17 baht to break even for raising baby fish for distribution in 1 day งานวิจัยเรื่องศึกษาการจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยง ในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงในทะเลสาบสงขลา มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระบบห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ของการจัดการธุรกิจการเลี้ยงปลากะพงขาว ในขั้นตอนก่อนการนําพันธุ์ปลากะพงขาว ลงเลี้ยงในกระชัง 2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การลดต้นทุนในขั้นตอนก่อนการนําพันธุ์ปลากะพงลงเลี้ยง ในกระชัง งานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สัมภาษณ์กลุ่มผู้เลี้ยงปลากะพง ในทะเลสาบสงขลา จํานวน 9 ราย และนักวิชาการด้านการประมง 1 ราย และผู้ผลิต และจัดจําหน่าย วัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลากะพง จํานวน 6 ราย รวม 16 ราย ผลการศึกษา พบว่า ระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการเลี้ยงปลากะพงขาว มีดังนี้ 1) การเตรียม พื้นที่ในการเลี้ยงปลากะพงขาว เป็นกิจกรรมในการจัดซื้อจัดหา Input เพื่อมาใช้ในกิจกรรมหลัก (Procurement) 2) การจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ทําการเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง จะเป็นกิจกรรม ด้าน Operation 3) กระบวนการในการจัดซื้อจัดหาพันธุ์ปลากะพงขาวและการอนุบาลปลากะพงขาว เป็นกิจกรรมหลักทางด้าน Services เป็นกิจกรรมที่ให้บริการเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้า 4) กระบวนการ ขนส่งลูกปลากะพงขาวเป็นกิจกรรมหลักในด้าน Inbound Logistics 5) กระบวนการลงเลี้ยงปลากะพงขาว กระชังจะเป็นขั้นตอนทางด้าน Operations เป็นกิจกรรมหลักที่มีความสําคัญที่สุด ผลการจากวิเคราะห์ต้นทุนทั้งหมด พบว่า ต้นทุนที่คงที่ ค่ากระชัง 3,920 บาท ต่อ 1 กระชัง ค่าอาหารสําเร็จรูป 493.65 บาท ต่อ 1 กระชัง ใน 1 วัน ค่าอาหารเศษปลาเบ็ดเตล็ด 27 บาท ต่อ 1 กระชัง ใน 1 วัน ต้นทุนผันแปร คือ ค่าพลังงานน้ํามัน 412 บาท ต่อวัน ค่าพลังงานไฟฟูา 1018.12 บาทต่อวัน) และราคาลูกปลาอยู่ที่ (ขนาด 5-7 นิ้ว) 17 บาท ต่อ 1 ตัว สรุปได้ว่า จุดคุ้มทุน ในการขายลูกปลากะพงไซส์ 5-7 นิ้ว ต้องขายได้อย่างน้อย 3.14 ตัว ในราคา 17 บาท จึงจะคุ้มทุน ต่อการเลี้ยงลูกปลาเพื่อจัดจําหน่ายใน 1 วัน 2022-09-13T07:13:39Z 2022-09-13T07:13:39Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17474 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ห่วงโซ่คุณค่า ปลากะพง |
spellingShingle |
ห่วงโซ่คุณค่า ปลากะพง ชาญวิทย์ โครธาสุวรรณ การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
description |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 |
author2 |
กุลวดี ลิ่มอุสันโน |
author_facet |
กุลวดี ลิ่มอุสันโน ชาญวิทย์ โครธาสุวรรณ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ชาญวิทย์ โครธาสุวรรณ |
author_sort |
ชาญวิทย์ โครธาสุวรรณ |
title |
การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
title_short |
การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
title_full |
การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
title_fullStr |
การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
title_full_unstemmed |
การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
title_sort |
การจัดการธุรกิจปลากะพงขาวในระบบห่วงโซ่คุณค่าก่อนการลงเลี้ยงในกระชัง : กรณีการเลี้ยงปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17474 |
_version_ |
1744373422451851264 |