พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17484 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17484 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอยะหา จังหวัดยะลา พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ |
spellingShingle |
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอยะหา จังหวัดยะลา พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ กฤษฎา พรหมมุณี พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
description |
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565 |
author2 |
ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ |
author_facet |
ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ กฤษฎา พรหมมุณี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
กฤษฎา พรหมมุณี |
author_sort |
กฤษฎา พรหมมุณี |
title |
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
title_short |
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
title_full |
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
title_fullStr |
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
title_full_unstemmed |
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
title_sort |
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17484 |
_version_ |
1744373423857991680 |
spelling |
th-psu.2016-174842022-09-13T09:01:18Z พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19): กรณีศึกษาตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา People’s Participation Behavior in Preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) Pandemic: A Case Study of Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province กฤษฎา พรหมมุณี ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอยะหา จังหวัดยะลา พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565 The objectives of the research were 1) to determine the level of people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province, 2) to compare people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province, 3) to explore people’s knowledge and understanding about prevention of the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province that affected people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province, and 4) to investigate public relations media affecting people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province. For this quantitative research, a questionnaire was used to collect data from 382 people living in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province. The data were analyzed using statistics consisting of frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and multiple regression analysis. The results of the research revealed that people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province was at a moderate level. When compared with people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic classified according to personal factors, it was found that people who were different in occupation, religion, and COVID-19 vaccination status had different people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic at a statistical significance level of 0.05. When analyzing people’s knowledge and understanding about the prevention of the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic, it was found that people’s knowledge and understanding were positively associated with people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province. The analysis results of public relations media concerning people and those not concerning people showed that public relations media concerning people was a factor most affecting and had a positive relationship with people’s participation behavior in preventing the Corona Virus 2019 (COVID-19) pandemic in Yaha Sub-district, Yaha District, Yala Province. การวิจัยเรื่องนี้มีมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา และเพื่อศึกษาสื่อประชาสัมพันธ์ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชนในพื้นที่ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา โดยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนในเขตตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 382 ชุด โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ประกอบด้วย ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติที ค่าความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่าระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชนในเขตตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา อยู่ในระดับปานกลาง ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ประชาชนที่มีอาชีพ ศาสนา และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) พบว่าเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวก และการวิเคราะห์ปัจจัยสื่อประชาสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยสื่อประชาสัมพันธ์ด้านสื่อที่เกี่ยวข้องกับบุคคลเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในระดับมากที่สุด 2022-09-13T09:01:17Z 2022-09-13T09:01:17Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17484 th application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |