โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อให้ทราบถึงลักษณะสายพันธุ์มะละกอ ระบบการผลิตและการตลาดมะละกอในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดำเนินการวิจัยโดยการสำรวจและสัมภาษณ์เกษตรกร 50 ราย ในพื้นที่ปลูกมะละกอหลักของจังหวัด ใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า ในปี 2551 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่ปลูกมะละกอ 4,493 ไร่ อำเกอ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุชาติ เชิงทอง, สุทธิจิตต์ เชิงทอง
Other Authors: Faculty of Science and Industrial Technology
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17592
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/299640
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17592
record_format dspace
spelling th-psu.2016-175922022-11-08T04:54:30Z โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สุชาติ เชิงทอง สุทธิจิตต์ เชิงทอง Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Faculty of Liberal Arts and Management Sciences คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มะละกอ การตลาด มะละกอ การตลาด สุราษฏร์ธานี มะละกอ การปลูก การตลาด การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อให้ทราบถึงลักษณะสายพันธุ์มะละกอ ระบบการผลิตและการตลาดมะละกอในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดำเนินการวิจัยโดยการสำรวจและสัมภาษณ์เกษตรกร 50 ราย ในพื้นที่ปลูกมะละกอหลักของจังหวัด ใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า ในปี 2551 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่ปลูกมะละกอ 4,493 ไร่ อำเกอคีรีรัฐนิคมมีพื้นที่ปลูกมากที่สุด เท่ากับ 1,714 ไร่ รองลงมาคืออำเภอบ้านตาขุนที่มีพื้นที่ปลูก 774 ไร่ การปลูกมะละกอเป็นการค้าในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งสิ้น 13 อำเภอ จาก 19 อำเภอ สายพันธุ์มะละกอที่ นิยมปลูกกันมากที่สุดคือสายพันธ์ุแขกดำ โดยเกษตรกรร้อยละ 98 ปลูกมะละกอสายพันธุ์นี้ เกษตรกรร้อยละ 50 ทำการเก็บเมล็ดและเพาะเอง ทำให้มีการกลายพันธุ์ได้ง่าย เนื่องจากมะละกอเป็นพืชผสม ข้าม เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะประจำพันธุ์ของมะละกอ ทำให้มีการปลูกมะละกอที่มีการกลายพันธุ์เพิ่มมากขึ้น เกษตรกรที่ซื้อเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้ามาปลูก มีแหล่ง ที่ซื้อจากร้านขายเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าในท้องถิ่นซึ่งไม่มีการควบคุมมาตรฐานให้ตรงตามพันธุ์ นอกจากนี้มะละกอยังพบปัญหาโรคพืชสำคัญคือโรคไวรัสใบด่างวงแหวนทำให้เกษตรกรต้องเลิก ปลูกมะละกอในหลายพื้นที่ และจำเป็นต้องหาพื้นที่ใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดโรคจากการปลูกซ้ำในที่เดิม เกษตรกรในจังหวัดสุรายฎร์ธานีปลูกมะละกอเป็นพืชเสริม โดยส่วนใหญ่ปลูกแซมในสวน ยางพารา ใช้ระยะปลูก 2*7 มตร และ 3*7 เมตร เกษตรกรปลูกมะละกอมีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย รายละ 4 ไร่ ให้น้ำโดยอาศัยน้ำฝน ถึงร้อยละ 88 ของจำนวนเกษตรกร การให้ปุ๊ยนิยมใช้ปุ๋ยเคมีถึงร้อยละ 75 ของจำนวนเกษตรกร เกษตรกรร้อยละ 25 ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยที่ใช้กันมากได้แก่ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 รองก้นหลุม ปุ๋ยสูตร 46-0-0 ในช่วงการเจริญเติบโต และปุ๋ยสูตร 13-13-21 ในช่วงให้ผลผลิต การศึกษาคุณภาพผลพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ผลิตมะละกอที่มีขนาดผลหนักประมาณ 1,000-1,500 กรัม ในผลสุกไม่พบผลสุกที่มีเนื้อสีแดง ทั้งที่เป็นลักษณะเด่นของพันธุ์แขกดำ ความหวานส่วน ใหญ่อยู่ระหว่าง 10.0-11.9 %TTS ซึ่งอยู่ต่ำกว่าความหวานของมะละกอพันธุ์แขกดำที่มีความหวานประมาณ 13%TTS ต้นทุนหลักในการผลิตมะละกอคือค่าแรงงาน โดยฉพาะแรงงานในครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 50 ของต้นทุนการผลิตรวม รองลงมาได้แก่ค่าปุ๋ย (ร้อยละ 28) เกษตรกรขายมะละกอดิบในราคาเฉลี่ย 2.66 บาท/ก.ก. และมะละกอสุกในราคา 3.82 บาท/ก.ก. ในขณะที่มีต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 1.22 บาท/ก.ก. หรือเฉลี่ย 5,971 บาท/ไร่ /ปี ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 4,888.08 ก.ก/ไร่/ปี สร้างรายได้ให้เกษตรกรแต่ละรายประมาณ 17,309 บาท/ไร่/ปี 2022-11-08T04:52:33Z 2022-11-08T04:52:33Z 2551 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17592 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/299640 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic มะละกอ การตลาด
มะละกอ การตลาด สุราษฏร์ธานี
มะละกอ การปลูก
การตลาด
spellingShingle มะละกอ การตลาด
มะละกอ การตลาด สุราษฏร์ธานี
มะละกอ การปลูก
การตลาด
สุชาติ เชิงทอง
สุทธิจิตต์ เชิงทอง
โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
description การศึกษานี้มีเป้าหมายเพื่อให้ทราบถึงลักษณะสายพันธุ์มะละกอ ระบบการผลิตและการตลาดมะละกอในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดำเนินการวิจัยโดยการสำรวจและสัมภาษณ์เกษตรกร 50 ราย ในพื้นที่ปลูกมะละกอหลักของจังหวัด ใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า ในปี 2551 จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่ปลูกมะละกอ 4,493 ไร่ อำเกอคีรีรัฐนิคมมีพื้นที่ปลูกมากที่สุด เท่ากับ 1,714 ไร่ รองลงมาคืออำเภอบ้านตาขุนที่มีพื้นที่ปลูก 774 ไร่ การปลูกมะละกอเป็นการค้าในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งสิ้น 13 อำเภอ จาก 19 อำเภอ สายพันธุ์มะละกอที่ นิยมปลูกกันมากที่สุดคือสายพันธ์ุแขกดำ โดยเกษตรกรร้อยละ 98 ปลูกมะละกอสายพันธุ์นี้ เกษตรกรร้อยละ 50 ทำการเก็บเมล็ดและเพาะเอง ทำให้มีการกลายพันธุ์ได้ง่าย เนื่องจากมะละกอเป็นพืชผสม ข้าม เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะประจำพันธุ์ของมะละกอ ทำให้มีการปลูกมะละกอที่มีการกลายพันธุ์เพิ่มมากขึ้น เกษตรกรที่ซื้อเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้ามาปลูก มีแหล่ง ที่ซื้อจากร้านขายเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าในท้องถิ่นซึ่งไม่มีการควบคุมมาตรฐานให้ตรงตามพันธุ์ นอกจากนี้มะละกอยังพบปัญหาโรคพืชสำคัญคือโรคไวรัสใบด่างวงแหวนทำให้เกษตรกรต้องเลิก ปลูกมะละกอในหลายพื้นที่ และจำเป็นต้องหาพื้นที่ใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดโรคจากการปลูกซ้ำในที่เดิม เกษตรกรในจังหวัดสุรายฎร์ธานีปลูกมะละกอเป็นพืชเสริม โดยส่วนใหญ่ปลูกแซมในสวน ยางพารา ใช้ระยะปลูก 2*7 มตร และ 3*7 เมตร เกษตรกรปลูกมะละกอมีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย รายละ 4 ไร่ ให้น้ำโดยอาศัยน้ำฝน ถึงร้อยละ 88 ของจำนวนเกษตรกร การให้ปุ๊ยนิยมใช้ปุ๋ยเคมีถึงร้อยละ 75 ของจำนวนเกษตรกร เกษตรกรร้อยละ 25 ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยที่ใช้กันมากได้แก่ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 รองก้นหลุม ปุ๋ยสูตร 46-0-0 ในช่วงการเจริญเติบโต และปุ๋ยสูตร 13-13-21 ในช่วงให้ผลผลิต การศึกษาคุณภาพผลพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ผลิตมะละกอที่มีขนาดผลหนักประมาณ 1,000-1,500 กรัม ในผลสุกไม่พบผลสุกที่มีเนื้อสีแดง ทั้งที่เป็นลักษณะเด่นของพันธุ์แขกดำ ความหวานส่วน ใหญ่อยู่ระหว่าง 10.0-11.9 %TTS ซึ่งอยู่ต่ำกว่าความหวานของมะละกอพันธุ์แขกดำที่มีความหวานประมาณ 13%TTS ต้นทุนหลักในการผลิตมะละกอคือค่าแรงงาน โดยฉพาะแรงงานในครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 50 ของต้นทุนการผลิตรวม รองลงมาได้แก่ค่าปุ๋ย (ร้อยละ 28) เกษตรกรขายมะละกอดิบในราคาเฉลี่ย 2.66 บาท/ก.ก. และมะละกอสุกในราคา 3.82 บาท/ก.ก. ในขณะที่มีต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 1.22 บาท/ก.ก. หรือเฉลี่ย 5,971 บาท/ไร่ /ปี ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 4,888.08 ก.ก/ไร่/ปี สร้างรายได้ให้เกษตรกรแต่ละรายประมาณ 17,309 บาท/ไร่/ปี
author2 Faculty of Science and Industrial Technology
author_facet Faculty of Science and Industrial Technology
สุชาติ เชิงทอง
สุทธิจิตต์ เชิงทอง
format Technical Report
author สุชาติ เชิงทอง
สุทธิจิตต์ เชิงทอง
author_sort สุชาติ เชิงทอง
title โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_short โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_full โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_fullStr โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_full_unstemmed โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_sort โครงการระบบการผลิตและการตลาดมะละกอ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17592
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/299640
_version_ 1751548901656100864