การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2) ศึกษาความสัมพันธ์และวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) สังเคราะห์กลยุทธ์และพัฒนาแนวทางการนำไปใช้ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในบริบทสังคมจังหวัดช...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17606 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308924 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17606 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-176062022-11-09T04:01:36Z การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ ยุโสบ บุญสุข นัชชิมา บาเกาะ อิบรอฮีม ลามี ซาโน College of Islamic Studies (Islamic Studies) วิทยาลัยอิสลามศึกษา (อิสลามศึกษา) Faculty of Humanities and Social Sciences (Western Languages) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันตก ปอเนาะ ศาสนาอิสลาม การศึกษาและการสอน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2) ศึกษาความสัมพันธ์และวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) สังเคราะห์กลยุทธ์และพัฒนาแนวทางการนำไปใช้ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในบริบทสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้ การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสานวิธี โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงสำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูสโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา การใช้สถิติบรรยาย และการถดถอยพหุคูณ กลุ่มเป้าหมายหลักคือครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาหลักสูตรบูรณาการ ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเชีย สิงคโปร์ และประเทศไทย และกลุ่มเป้าหมายรองคือผู้บริหารโรงเรียน นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน โดยผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการศึกษาในศตวรรษที่ 21 คือ การศึกษาที่สร้างผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถปรับตัวและยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารที่ดี และครูสามารถบูรณาการศาสนาในรายวิชา ผู้เรียนรู้เท่าทันสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยีการสื่อสาร และสามารถเป็นพลเมืองโลก และครูผู้สอนควรมีคุณลักษณะสำคัญ 9 ด้าน ได้แก่ ครูคือโค้ช ผู้สอนประสบการณ์และทักษะชีวิตแก่ผู้เรียน เข้าใจความแตกต่างของผู้เรียน สามารถบูรณาการศาสตร์ในการเรียนการสอน ผู้ที่ศึกษาเรียนรู้ตลอดเวลา เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ รู้ทันเทคโนโลยี มีเทคนิคการสอนที่ทันสมัย และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ในส่วนกลยุทธ์การสอนวิเคราะห์จาก กรอบกลยุทธ์ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ 1) หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2) การเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนการสอน 3) การวิเคราะห์ประเด็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน 4) การออกแบบการวัดผลและประเมินผลแนวใหม่ 5) ระบบการนำผลการประเมินสู่การการปรับปรุงและพัฒนา และ 6) ระบบประกันคุณภาพการสอน 2) ตัวแปรที่สามารถทำนายกลยุทธิ์การสอนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ตัวแปรแนวทางของการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตัวแปรการพัฒนาวิชาชีพของครูผู้สอน ตัวแปรปัจจัยด้านผู้ปกครอง และตัวแปร ด้านนโยบายแห่งรัฐ และตัวแปรที่สามารถทำนายทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ตัวแปรการเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนการสอน ตัวแปร การประกันคุณภาพการสอน และตัวแปรการปรับปรุงการเรียนการสอน 3) กลยุทธ์จากการสังเคราะห์เพื่อใช้ในบริบทโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ได้แก่ 1) กลยุทธ์หลักสูตร สามัญบูรณาการฮิสลาม (บูรณาการสาระการเรียนรู้บูรณาการโครงสร้างรายวิชา) 2) กลยุทธ์การสอน แนวใหม่สำหรับรายวิชาบูรณาการอิสลาม 3) กลยุทธ์การวัดและประเมินการจัดการเรียนรู้บูรณาการอิสลาม 4) กลยุทธ์การนำเทคโน่โลยีการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและบริหารจัดการโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 5) กลยุทธ์ระบบพัฒนาครูโรงเรียนบูรณาการโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน และ 6) กลยุทธ์หุ้นส่วนทางการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการ ในส่วนแนวทางการนำไปใช้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีชื่อว่ากระบวนการ "อัพเสิร์น (UPLERN)" ซึ่งประกอบด้วย 6 กระบวนการ คือ 1) การทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง (Understanding) 2) การจัดลำดับความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง (Prioritizing) 3) การเรียนรู้ (Leaming) 4) การนำกลยุทธ์ไปใช้และประเมิน (Employing and Evaluation) 5) การให้ผลสะท้อนกลับและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Reflecting and Revising) และ 6) การสร้างเครือข่าย (Networking) 2022-11-09T03:58:42Z 2022-11-09T03:58:42Z 2563 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17606 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308924 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ปอเนาะ ศาสนาอิสลาม การศึกษาและการสอน |
spellingShingle |
ปอเนาะ ศาสนาอิสลาม การศึกษาและการสอน มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ ยุโสบ บุญสุข นัชชิมา บาเกาะ อิบรอฮีม ลามี ซาโน การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
description |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2) ศึกษาความสัมพันธ์และวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การสอน
เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) สังเคราะห์กลยุทธ์และพัฒนาแนวทางการนำไปใช้ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในบริบทสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้
การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสานวิธี โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงสำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูสโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
การใช้สถิติบรรยาย และการถดถอยพหุคูณ กลุ่มเป้าหมายหลักคือครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาหลักสูตรบูรณาการ ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเชีย สิงคโปร์ และประเทศไทย
และกลุ่มเป้าหมายรองคือผู้บริหารโรงเรียน นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน โดยผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ครูผู้สอนมีความคิดเห็นว่าการศึกษาในศตวรรษที่ 21 คือ การศึกษาที่สร้างผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถปรับตัวและยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ผู้เรียนมีทักษะการสื่อสารที่ดี และครูสามารถบูรณาการศาสนาในรายวิชา ผู้เรียนรู้เท่าทันสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยีการสื่อสาร และสามารถเป็นพลเมืองโลก และครูผู้สอนควรมีคุณลักษณะสำคัญ 9 ด้าน ได้แก่ ครูคือโค้ช ผู้สอนประสบการณ์และทักษะชีวิตแก่ผู้เรียน เข้าใจความแตกต่างของผู้เรียน สามารถบูรณาการศาสตร์ในการเรียนการสอน ผู้ที่ศึกษาเรียนรู้ตลอดเวลา เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ รู้ทันเทคโนโลยี มีเทคนิคการสอนที่ทันสมัย และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ในส่วนกลยุทธ์การสอนวิเคราะห์จาก
กรอบกลยุทธ์ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ 1) หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2) การเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนการสอน 3) การวิเคราะห์ประเด็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน 4) การออกแบบการวัดผลและประเมินผลแนวใหม่ 5) ระบบการนำผลการประเมินสู่การการปรับปรุงและพัฒนา และ 6) ระบบประกันคุณภาพการสอน 2) ตัวแปรที่สามารถทำนายกลยุทธิ์การสอนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ตัวแปรแนวทางของการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตัวแปรการพัฒนาวิชาชีพของครูผู้สอน ตัวแปรปัจจัยด้านผู้ปกครอง และตัวแปร
ด้านนโยบายแห่งรัฐ และตัวแปรที่สามารถทำนายทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ตัวแปรการเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนการสอน ตัวแปร
การประกันคุณภาพการสอน และตัวแปรการปรับปรุงการเรียนการสอน 3) กลยุทธ์จากการสังเคราะห์เพื่อใช้ในบริบทโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ได้แก่ 1) กลยุทธ์หลักสูตร
สามัญบูรณาการฮิสลาม (บูรณาการสาระการเรียนรู้บูรณาการโครงสร้างรายวิชา) 2) กลยุทธ์การสอน แนวใหม่สำหรับรายวิชาบูรณาการอิสลาม 3) กลยุทธ์การวัดและประเมินการจัดการเรียนรู้บูรณาการอิสลาม 4) กลยุทธ์การนำเทคโน่โลยีการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและบริหารจัดการโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 5) กลยุทธ์ระบบพัฒนาครูโรงเรียนบูรณาการโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน และ 6) กลยุทธ์หุ้นส่วนทางการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการ ในส่วนแนวทางการนำไปใช้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนโดยใช้กลยุทธ์การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีชื่อว่ากระบวนการ "อัพเสิร์น (UPLERN)" ซึ่งประกอบด้วย 6 กระบวนการ คือ 1) การทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง (Understanding) 2) การจัดลำดับความสำคัญของการเปลี่ยนแปลง (Prioritizing) 3) การเรียนรู้ (Leaming) 4) การนำกลยุทธ์ไปใช้และประเมิน (Employing and Evaluation) 5) การให้ผลสะท้อนกลับและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Reflecting and Revising) และ 6) การสร้างเครือข่าย (Networking) |
author2 |
College of Islamic Studies (Islamic Studies) |
author_facet |
College of Islamic Studies (Islamic Studies) มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ ยุโสบ บุญสุข นัชชิมา บาเกาะ อิบรอฮีม ลามี ซาโน |
format |
Technical Report |
author |
มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ ยุโสบ บุญสุข นัชชิมา บาเกาะ อิบรอฮีม ลามี ซาโน |
author_sort |
มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ |
title |
การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
title_short |
การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
title_full |
การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
title_fullStr |
การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
title_full_unstemmed |
การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
title_sort |
การสังเคราะห์กลยุทธ์การสอนของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามหลักสูตรบูรณาการในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และแนวทางการนำไปใช้สำหรบับริบทโรงเรียนชายแดนภาคใต้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2022 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17606 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308924 |
_version_ |
1751548904273346560 |