โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง

Electrochemical sensor for nitrate detection was developed based on copper nanofoam (Cu foam) and ordered mesoporous carbon (OMC) modified screen printed carbon electrode (SPCE)y. This Cu foam/OMC/SPCE was used for nitrated detection by using amperometric system. Nitrate was determined at applied po...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อาภรณ์ นุ่มน่วม
Other Authors: Faculty of Science (Chemistry)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17636
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305203
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17636
record_format dspace
spelling th-psu.2016-176362022-11-15T08:52:19Z โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง Electrochemical sensor for nitrate detection based on ordered mesoporous carbon-copper (OMC-Cu) nanocomposite modified screen printed electrode อาภรณ์ นุ่มน่วม Faculty of Science (Chemistry) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า เคมีไฟฟ้า Electrochemical sensor for nitrate detection was developed based on copper nanofoam (Cu foam) and ordered mesoporous carbon (OMC) modified screen printed carbon electrode (SPCE)y. This Cu foam/OMC/SPCE was used for nitrated detection by using amperometric system. Nitrate was determined at applied potential of -0.625 V in flow injection system based on the reduction current of nitrate that electrocatalyzed by modified Cu foam. Under optimum conditions, the fabricated nitrate sensor provide the linear range from 0.001-5.0 mM with limit of detection (S/N ≥ 3) of 1.0 uM. The amperometric nitrate sensor demonstrated high operation stability up to 150 times. In the presence of the common interference, Mg2+, CO32-, Fe2+, Fe3+, Cland SO42-, in water, have negligible effect on the performance of this developed sensor. When applied to analyze nitrate in water samples, the % recovery are in the range of 95-110 %. งานวิจัยนี้พัฒนาเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยการปรับปรุงผิวขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์แบบคาร์บอนด้วยคาร์บอนรูพรุนระดับเมโซที่จัดเรียงตัวเป็นระเบียบร่วมกับทองแดงนาโนโฟม เพื่อใช้ในการตรวจวัดไนเตรทด้วยเทคนิคแอมเพอโรเมทรีร่วมกับระบบไหลผ่าน โดยตรวจวัดสัญญาณปฏิกิริยารีดักชันของไนเตรทโดยให้ศักย์ไฟฟ้าที่ป้อนในระบบ -0.625โวลต์ ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมเทคนิคนี้ให้ช่วงความเป็นเส้นตรงระหว่าง 0.001-5.0 มิลลิโมลาร์ และขีดจำกัดของการตรวจวัดคือ 1 ไมโครโมลาร์ ขั้วไฟฟ้าที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวัดไนเตรทได้ถึง 150 ครั้ง โดยไม่มีสัญญาณรบกวนเมื่อมีการทดสอบผลของตัวรบกวนที่มีอยู่ในตัวอย่างน้ำ เช่น แมกนีเซียมไอออน (Mg2+) คาร์บอเนตไอออน (CO3 plus 2-) เหล็ก (II) เหล็ก (III) คลอไรด์ไอออน (Cl-) และ ซัลเฟตไอออน (SO4 plus 2-) เมื่อวิเคราะห์ความเข้มข้นของไนเตรทในตัวอย่างน้ำ ให้ร้อยละการได้กลับคืนเท่ากับ 95-110 % 2022-11-15T08:52:00Z 2022-11-15T08:52:00Z 2562 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17636 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305203 th
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า
เคมีไฟฟ้า
spellingShingle เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า
เคมีไฟฟ้า
อาภรณ์ นุ่มน่วม
โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
description Electrochemical sensor for nitrate detection was developed based on copper nanofoam (Cu foam) and ordered mesoporous carbon (OMC) modified screen printed carbon electrode (SPCE)y. This Cu foam/OMC/SPCE was used for nitrated detection by using amperometric system. Nitrate was determined at applied potential of -0.625 V in flow injection system based on the reduction current of nitrate that electrocatalyzed by modified Cu foam. Under optimum conditions, the fabricated nitrate sensor provide the linear range from 0.001-5.0 mM with limit of detection (S/N ≥ 3) of 1.0 uM. The amperometric nitrate sensor demonstrated high operation stability up to 150 times. In the presence of the common interference, Mg2+, CO32-, Fe2+, Fe3+, Cland SO42-, in water, have negligible effect on the performance of this developed sensor. When applied to analyze nitrate in water samples, the % recovery are in the range of 95-110 %.
author2 Faculty of Science (Chemistry)
author_facet Faculty of Science (Chemistry)
อาภรณ์ นุ่มน่วม
format Technical Report
author อาภรณ์ นุ่มน่วม
author_sort อาภรณ์ นุ่มน่วม
title โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
title_short โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
title_full โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
title_fullStr โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
title_full_unstemmed โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
title_sort โครงการ เซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าสำหรับตรวจวัดไนเตรตโดยการดัดแปลงขั้วไฟฟ้าสกรีนพรินต์ด้วยนาโนคอมโพสิทของคาร์บอนรูพรุนที่เรียงตัวเป็นระเบียบกับอนุภาคนาโนทองแดง
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17636
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/305203
_version_ 1751548908054511616