แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน

The research entitled "The Guidance for Maximizing Tourist Expenditure per Person in the Andaman-side of Southern Thailand" aims to investigate the expenditure and willingness to pay influencing factors, and the guidance for maximizing tourist expenditure per person in the Andaman-side of...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ธีรศักดิ์ จินดาบถ, อภิวัฒน์ อายุสุข, ลภัสวัฒน์ ศุภผลกุลนันทร์, พิมพิกา พูลสวัสดิ์
Other Authors: Faculty of Management Sciences (Business Administration)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17643
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308239
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17643
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic นักท่องเที่ยว ไทย (ภาคใต้)
นักท่องเที่ยว ค่าใช้จ่าย
spellingShingle นักท่องเที่ยว ไทย (ภาคใต้)
นักท่องเที่ยว ค่าใช้จ่าย
ธีรศักดิ์ จินดาบถ
อภิวัฒน์ อายุสุข
ลภัสวัฒน์ ศุภผลกุลนันทร์
พิมพิกา พูลสวัสดิ์
แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
description The research entitled "The Guidance for Maximizing Tourist Expenditure per Person in the Andaman-side of Southern Thailand" aims to investigate the expenditure and willingness to pay influencing factors, and the guidance for maximizing tourist expenditure per person in the Andaman-side of Southern Thailand (Phuket, Phang Nga, Krabi, and Trang provinces). Mixed Method has been applied to use qualitative research by interviewing the 160 key informants from related tourism stakeholders. Then, the 800 of quantitative questionnaires were distributed to both foreign and Thai tourists. The results show that the average expenditure of tourists in the Andaman-side of Southern Thailand is 5,105.45 baht/head/day, 4,239.27 baht/head/day for Free and Independent Traveler (FIT), and 10,132.79 baht/head/day for tourists on group tour package. The expenditure, influencing factors are nationality, income, number of travelling days, important of product, and important of physical structure. For willingness to pay, the result shows that the fourth situation (everything is better and stay one more day) has the highest percentage, 31.69, of willingness to pay. Its influencing factors are nationality and the physical @structure component. Thus, the related organizations have to emphasize the high income foreign tourists and focus on developing tourism products, staffs, and pricing. For marketing, 0 3H, which are Healthy, Happy, and Hospitality, should be implemented. The value creation strategy can be applied to link the land and sea travelling routes. Finally, the result shows that the fourth situation will provide the highest total tourist's expenditure, which is 1,322.09 million baht per year, and leads to the highest projected tourism revenue to 76,623.32 million baht.
author2 Faculty of Management Sciences (Business Administration)
author_facet Faculty of Management Sciences (Business Administration)
ธีรศักดิ์ จินดาบถ
อภิวัฒน์ อายุสุข
ลภัสวัฒน์ ศุภผลกุลนันทร์
พิมพิกา พูลสวัสดิ์
format Technical Report
author ธีรศักดิ์ จินดาบถ
อภิวัฒน์ อายุสุข
ลภัสวัฒน์ ศุภผลกุลนันทร์
พิมพิกา พูลสวัสดิ์
author_sort ธีรศักดิ์ จินดาบถ
title แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
title_short แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
title_full แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
title_fullStr แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
title_full_unstemmed แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
title_sort แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17643
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308239
_version_ 1751548909386203136
spelling th-psu.2016-176432022-11-21T02:46:18Z แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของ นักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยย่อยที่ 2 แนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน The guidance for maximizing tourist expenditure per person in the Andaman-side of Southern Thailand ธีรศักดิ์ จินดาบถ อภิวัฒน์ อายุสุข ลภัสวัฒน์ ศุภผลกุลนันทร์ พิมพิกา พูลสวัสดิ์ Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ Faculty of Liberal Arts and Management Sciences คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ นักท่องเที่ยว ไทย (ภาคใต้) นักท่องเที่ยว ค่าใช้จ่าย The research entitled "The Guidance for Maximizing Tourist Expenditure per Person in the Andaman-side of Southern Thailand" aims to investigate the expenditure and willingness to pay influencing factors, and the guidance for maximizing tourist expenditure per person in the Andaman-side of Southern Thailand (Phuket, Phang Nga, Krabi, and Trang provinces). Mixed Method has been applied to use qualitative research by interviewing the 160 key informants from related tourism stakeholders. Then, the 800 of quantitative questionnaires were distributed to both foreign and Thai tourists. The results show that the average expenditure of tourists in the Andaman-side of Southern Thailand is 5,105.45 baht/head/day, 4,239.27 baht/head/day for Free and Independent Traveler (FIT), and 10,132.79 baht/head/day for tourists on group tour package. The expenditure, influencing factors are nationality, income, number of travelling days, important of product, and important of physical structure. For willingness to pay, the result shows that the fourth situation (everything is better and stay one more day) has the highest percentage, 31.69, of willingness to pay. Its influencing factors are nationality and the physical @structure component. Thus, the related organizations have to emphasize the high income foreign tourists and focus on developing tourism products, staffs, and pricing. For marketing, 0 3H, which are Healthy, Happy, and Hospitality, should be implemented. The value creation strategy can be applied to link the land and sea travelling routes. Finally, the result shows that the fourth situation will provide the highest total tourist's expenditure, which is 1,322.09 million baht per year, and leads to the highest projected tourism revenue to 76,623.32 million baht. คุณค่าจากกลุ่มผลิตภัณฑ์และพื้นโดยการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวทั้งทางทะเลและทางบก ทั้งนี้ งานวิจัยเรื่อง แนวทางการเพิ่มค่ใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน มุ่งค้นหาปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่าย ความเต็มใจที่จะจ่าย และแนวทางการเพิ่มค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวที่ เดินทางมาท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามัน ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ และตรัง การวิจัยนี้ดำเนินการวิจัยด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม โดยการใช้การวิจัยเชิงคุณภาพสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง 160 คน และการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามจำนวน 800 ชุด จากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติ ผลการวิจัย พบว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวในภาคใต้ฝั่งอันดามันเท่ากับ 5,105.45 บาท ต่อคนต่อวัน โดยกลุ่มที่เดินทางมาเองมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 4,239.27 บาทต่อคนต่อวัน ในขณะที่กลุ่มที่มากับบริษัททัวร์มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 10,132.79 บาทต่อคนต่อวัน ซึ่งปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดค่าใช้จ่ายตัวหัวคือ สัญชาติ รายได้ ระยะเวลาการท่องเที่ยว ความสำคัญของผลิตภัณฑ์ และความสำคัญของลักษณะทางกายภาพ ในขณะที่ความเต็มใจที่จะจ่ายของนักเที่ยว พบว่า กรณีที่ 4 คือ มีการปรับปรุงการท่องเที่ยวทุกอย่างให้ดีขึ้นและให้นักท่องเที่ยวเพิ่มจำนวนวันอีก 1 วัน เป็นกรณีที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวเต็มใจที่จะจ่าย มากที่สุด ร้อยละ 31:6 โดยปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดความเต็มใจที่จะจ่ายในทุกกรณี ได้แก่ สัญชาติ และลักษณะทางกายภาพของแหล่งท่องเที่ยว ทั้งนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญกับนักท่องเที่ยวชาวต่างชติที่มีรายได้สูงและมุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว บุคลากร รวมทั้งควบคุมราคาให้ เหมา:สม ผ่านแนวคิดทางการตลาด 3H ได้แก่ Healthy, Happy และ Hospitality ด้วยกลยุทธ์การสร้างการประมาณการคำใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ทั้ง 4 กรณี พบว่ากรณีที่ 4 จะเป็นการกระตุ้นให้ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นสูงที่สุดคือ เท่ากับ 1,322.09 ล้าน บาทต่อปี และส่งผลให้รายได้ด้านการท่องเที่ยวสูงที่สุดเช่นกันคือ เท่ากับ 76,623.32 ล้านบาท 2022-11-21T02:43:24Z 2022-11-21T02:43:24Z 2562 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17643 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/308239 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์