การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ

Corruption has become much more subtle and difficult to detect. Among the various approaches that have been used by different countries, whistleblowing has been shown to be an effective strategy for tackling corruption. Based on a review of the current practices of six different countries, we learne...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์, อังศุธร ศรีสุทธิสอาด, ศิริรักษ์ สิงหเสม, ปริญ นิทัศน์เอก
Other Authors: Faculty of Management Sciences (Public Administration)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2022
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17702
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296839
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17702
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การทุจริตและประพฤติมิชอบ
การทุจริตและประพฤติมิชอบ ไทย (ภาคใต้)
การแจ้งเบาะแส
spellingShingle การทุจริตและประพฤติมิชอบ
การทุจริตและประพฤติมิชอบ ไทย (ภาคใต้)
การแจ้งเบาะแส
วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์
อังศุธร ศรีสุทธิสอาด
ศิริรักษ์ สิงหเสม
ปริญ นิทัศน์เอก
การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
description Corruption has become much more subtle and difficult to detect. Among the various approaches that have been used by different countries, whistleblowing has been shown to be an effective strategy for tackling corruption. Based on a review of the current practices of six different countries, we learned that their key success factors include a strong political will to fight corruption, an effective and integrated legal framework, strict enforcement of the laws and the strength of civil society organizations (CSOs). As for Thailand, whistleblowing is protected under two anti-corruption acts: The NACC’s Anti-Corruption Act and the PACC’s Anti-Corruption Act. These laws focus primarily on protecting the physical safety of whistleblowers but fall short of ensuring protection against reprisals and unfair practices, which generally occur in the workplace. Furthermore, protection against unfair treatment only applies to government officials and it does not clearly define what ‘unfair treatment’ actually means. The fundamental rights of whistleblowers are also often violated because heads of government agencies are not obligated to comply with the protection measures put forth by the NACC and PACC. Moreover, the current investigation process (e.g., how incoming cases are handled and processed) is still inefficient, impeding the NACC and PACC from being able to process corruption cases in due time. There is currently no clear and concrete mechanism for ensuring that the public is empowered and that their right is protected. It is thus unfortunate that the recently proposed law which aimed to promote
author2 Faculty of Management Sciences (Public Administration)
author_facet Faculty of Management Sciences (Public Administration)
วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์
อังศุธร ศรีสุทธิสอาด
ศิริรักษ์ สิงหเสม
ปริญ นิทัศน์เอก
format Technical Report
author วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์
อังศุธร ศรีสุทธิสอาด
ศิริรักษ์ สิงหเสม
ปริญ นิทัศน์เอก
author_sort วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์
title การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
title_short การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
title_full การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
title_fullStr การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
title_full_unstemmed การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
title_sort การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2022
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17702
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296839
_version_ 1753805852920250368
spelling th-psu.2016-177022022-12-19T03:45:29Z การเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแสในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ Enhancing the Effectiveness of the Whistleblowing System in Thailand and Promoting Area-Based Collaboration (ABC) in Fighting and Preventing Corruption in the Southern Region of Thailand รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการเสริมสร้างประสิทธิผลของระบบการให้เบาะแส ในประเทศไทยและการส่งเสริมความร่วมมือในระดับพื้นที่ภาคใต้ เพื่อป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐ วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์ อังศุธร ศรีสุทธิสอาด ศิริรักษ์ สิงหเสม ปริญ นิทัศน์เอก Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ การทุจริตและประพฤติมิชอบ การทุจริตและประพฤติมิชอบ ไทย (ภาคใต้) การแจ้งเบาะแส Corruption has become much more subtle and difficult to detect. Among the various approaches that have been used by different countries, whistleblowing has been shown to be an effective strategy for tackling corruption. Based on a review of the current practices of six different countries, we learned that their key success factors include a strong political will to fight corruption, an effective and integrated legal framework, strict enforcement of the laws and the strength of civil society organizations (CSOs). As for Thailand, whistleblowing is protected under two anti-corruption acts: The NACC’s Anti-Corruption Act and the PACC’s Anti-Corruption Act. These laws focus primarily on protecting the physical safety of whistleblowers but fall short of ensuring protection against reprisals and unfair practices, which generally occur in the workplace. Furthermore, protection against unfair treatment only applies to government officials and it does not clearly define what ‘unfair treatment’ actually means. The fundamental rights of whistleblowers are also often violated because heads of government agencies are not obligated to comply with the protection measures put forth by the NACC and PACC. Moreover, the current investigation process (e.g., how incoming cases are handled and processed) is still inefficient, impeding the NACC and PACC from being able to process corruption cases in due time. There is currently no clear and concrete mechanism for ensuring that the public is empowered and that their right is protected. It is thus unfortunate that the recently proposed law which aimed to promote ในปัจจุบันการทุจริตคอร์รัปชันมีความซับซ้อนแยบยลมากยิ่งขึ้นและเป็นการยากที่จะตรวจสอบจากหลากหลายมาตรการที่นานาประเทศได้นำมาใช้ในการปราบปรามการทุจริต พบว่าการแจ้งเบาะแสหรือ "Whistleblowing" เป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยต่อต้านการทุจริตได้อย่างมีประสิทธิผล จากการศึกษามาตรฐานขององค์กรระหว่างประเทศและประเทศต้นแบบจำนวน 6 ประเทศ พบว่า ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของประเทศเหล่านี้ คือ เจตจำนงที่ชัดเจนในการต่อต้านการทุจริต การวางมาตรการทางกฎหมายและกลไกการทำงานที่มีประสิทธิภาพแบบบูรณาการ การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและบทบาทที่แข็งแกร่งของภาคประชาสังคมสำหรับประเทศไทยพบว่ากฎหมายยังมีลักษณะแยกส่วนตามหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยบทบัญญัติการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตถูกสอดแทรกอยู่ใน พ.ร.บ.หลักของแค่ละหน่วยงานได้แก่ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) และ พ.ร.บ.มาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ท.) โดยกฎหมายเน้นให้ความคุ้มครองด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผู้แจ้งเบาะแส ส่วนการ คุ้มครองด้านความปลอดภัยในการถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมโดยนายจ้างพบว่ายังขาดความชัดเจน หลายเรื่องยังไม่สามารถปฏิบัติได้จริง และเป็นมาตรการที่ครอบคลุมเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้นซึ่งถือเป็นช่องโหว่ทางกฎหมาย รวมทั้ง กระบวนการรับเรื่องกล่าวหาร้องเรียน การไต่สวนและการส่งเรื่อง ร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยังคงขาดประสิทธิภาพทำให้มีเรื่องดั่งด้างอยู่ที่สำนักงาน ป.ป.ช และ ป.ป.ท. เป็นจำนวนมาก ในส่วนของการมีส่วนร่วมของภาดประชาชนและกลไกการเฝ้าระวังทุจริตในระดับพื้นที่นั้น ปัจจุบันยังไม่มีมาตรการและกลไกที่เป็นรูปธรรมในการให้ความคุ้มครองและให้อำนาจในการตรวจสอบกับประชาชนทั่วไป จึงเป็นเรื่องน่าเสียดายที่ร่าง พ.ร.บ.การส่งเสริมและคุ้มครองประชาชนในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ พ.ศ. ...(ป.ป.ท.) ถูกสำนักงานกฤษฎีกาตีความให้ตกไปโดยระบุเหตุผลความซ้ำซ้อนกับร่าง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตพ.ศ. ของ ป.ป.ช. ซึ่งถือเป็นการตัดโอกาสที่จะทำให้ประเทศไทยมีการอนุวัติการให้เป็นไปตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (UNCAC) ค.ศ. 2003 ประเทศไทยยังคงต้องอาศัยกลไกทางเลือก ได้แก่ สื่อมวลชนและองค์กรประชาชนอิสระที่เข้มแข็งในการทำหน้าที่ตรวจสอบการทำงานของภาครัฐ จนกว่ากฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้องจะได้รับการแก้ไขปรับปรุงให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น 2022-12-19T03:41:43Z 2022-12-19T03:41:43Z 2561 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17702 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/296839 th มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์