ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อภิสรา คงแก้ว
Other Authors: วันอามีนา บอสตัน อลี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17867
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17867
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic REVENUE DEPARTMENT
E-FILING
การยอมรับการใช้เทคโนโลยี
spellingShingle REVENUE DEPARTMENT
E-FILING
การยอมรับการใช้เทคโนโลยี
อภิสรา คงแก้ว
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING
description บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2566
author2 วันอามีนา บอสตัน อลี
author_facet วันอามีนา บอสตัน อลี
อภิสรา คงแก้ว
format Theses and Dissertations
author อภิสรา คงแก้ว
author_sort อภิสรา คงแก้ว
title ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING
title_short ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING
title_full ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING
title_fullStr ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING
title_full_unstemmed ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING
title_sort ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ revenue department e-filing
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17867
_version_ 1762854916696571904
spelling th-psu.2016-178672023-02-28T03:37:42Z ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ REVENUE DEPARTMENT E-FILING FACTORS AFFECTING THE ACCEPTANCE OF REVENUE DEPARTMENT E-FILING SYSTEM อภิสรา คงแก้ว วันอามีนา บอสตัน อลี Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ REVENUE DEPARTMENT E-FILING การยอมรับการใช้เทคโนโลยี บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2566 The objective of this research is to study the factors affecting the adoption of the Revenue Department E-filing system of those responsible for filing tax returns and paying income tax. The results of the research are used to encourage those responsible for filing tax returns and paying income tax. The sample used in the research was 400 tax return filers and taxpayers through the Revenue Department E-filing system using purposive sampling methods. Analyze the data with descriptive statistics and present it in the form of a table of frequency distributions, percentages, averages, standard deviations, and multiple linear regression analyses to test factors affecting the adoption of revenue department e-filing systems. According to the test results, the statistical values of the coefficients and independent variables. It can be concluded that the factors affecting the adoption of the Revenue Department E-filing system statistically significantly at 0.05 are system quality factors, service quality factors, net benefit factors, and user satisfaction factors with a forecast coefficient (R Square) of .637, so all independent variables can explain the variation of variables according to 63.7% This makes it known that the Revenue Department E-filing system has the hallmarks of continuous improvement in the field of system quality. Quality of service the benefits and tax benefits that users receive from the adoption of the Revenue Department E-filing system make it easier and more convenient to file and pay taxes, affecting satisfaction and referrals, which will further encourage those responsible for filing tax returns and paying income tax through the Revenue Department E-filing system. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ Revenue Department E-filing ของผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีเงินได้ โดยนำผลจากการวิจัยมาเป็นข้อมูลสนับสนุนให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีเงินได้ ใช้งานผ่านระบบ Revenue Department E-filing มากยิ่งขึ้น ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีผ่านระบบ Revenue Department E-filing จำนวน 400 คน โดยใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาโดยอธิบาย และนำเสนอในรูปแบบตารางแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหูคูณ (Multiple Linear Regression) เพื่อทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ Revenue Department E-filing จากผลการทดสอบค่าทางสถิติของค่าสัมประสิทธิ์และตัวแปรอิสระ สามารถสรุปได้ว่าปัจจัย ที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบ Revenue Department E-filing อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณภาพระบบ (System Quality), ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ (Service Quality), ปัจจัยด้านประโยชน์ที่ผู้ใช้งานได้รับ (Net Benefit) และปัจจัยด้านความพึงพอใจของผู้ใช้งาน (User Satisfaction) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R Square) เท่ากับ .637 ดังนั้นตัวแปรอิสระทุกตัวสามารถอธิบายการผันแปรของตัวแปรตามได้ร้อยละ 63.7 ทำให้ทราบได้ว่าระบบ Revenue Department E-filing มีจุดเด่นที่สามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องในด้านของคุณภาพระบบ คุณภาพบริการ ประโยชน์และสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ผู้ใช้งานได้รับจากการยอมรับการใช้งานระบบ Revenue Department E-filing ทำให้การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีเป็นเรื่องที่ง่าย และสะดวกมากยิ่งขึ้นส่งผลต่อความพึงพอใจและการบอกต่อ ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยสนับสนุนให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีเงินได้ ใช้งานผ่านระบบ Revenue Department E-filing มากยิ่งขึ้นต่อไป 2023-02-28T03:37:42Z 2023-02-28T03:37:42Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17867 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์