ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2564

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กฤชมล วิทยธนกุล
Other Authors: พัชรี คมจักรพันธ์ุ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17952
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17952
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย
ผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การให้ข้อมูล
การสนับสนุนของครอบครัว
spellingShingle ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย
ผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การให้ข้อมูล
การสนับสนุนของครอบครัว
กฤชมล วิทยธนกุล
ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
description พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2564
author2 พัชรี คมจักรพันธ์ุ
author_facet พัชรี คมจักรพันธ์ุ
กฤชมล วิทยธนกุล
format Theses and Dissertations
author กฤชมล วิทยธนกุล
author_sort กฤชมล วิทยธนกุล
title ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
title_short ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
title_full ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
title_fullStr ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
title_sort ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17952
_version_ 1764209923103653888
spelling th-psu.2016-179522023-04-12T03:58:08Z ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยในผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน The Effects of Information Providing Integrated with Family Support Program on Uncertainty in Illness among Elders with Acute Myocardial Infarction กฤชมล วิทยธนกุล พัชรี คมจักรพันธ์ุ Faculty of Nursing (Public Health Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน การให้ข้อมูล การสนับสนุนของครอบครัว พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2564 This single-group pre-post-test study was designed to examine the effect of information providing integrated with a family support program on illness uncertainty among elderly patients with acute myocardial infarction. Twenty-seven participants were recruited through purposive sampling based on inclusion criteria. Participants were elderly persons with acute myocardial infarction who had a family member as a primary caregiver and who received treatment at Hatyai hospital, Songkhla Province. They received information integrated with a support program consisting of five activities: 1) good resources, 2) disease awareness, 3) clarification of treatment plans, 4) adequate information and 5) follow up. The instruments consisted of: 1) the information integrated with the family support program, 2) a flip chart, 3) a handbook of elderly with acute myocardial infarction care for caregivers, and 4) an Uncertainty in Illness questionnaire. All instruments were validated for content validity by three experts. The Uncertainty in Illness questionnaire was tested for reliability, yielding the Cronbach’s alpha coefficient of 0.84. The data were analyzed using descriptive statistics and paired t-test. The result revealed that after receiving the program, the mean scores of illness uncertainty (M = 82.2, SD =1.85) were significantly lower than before receiving the program (M = 108.4, SD = 7.59) (p < 0.05). This study indicated that information providing integrated with a family support program reduces the feeling of uncertainty among elderly persons with acute myocardial infarction. Therefore, this program offers another prospect for designing nursing activities while caring for elderly patients with acute myocardial infarction who were hospitalized, and preparing the patients for a pre-discharge plan to reduce feelings of uncertainty about their illness and helping them to live properly with the disease. การวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวต่อระดับความรู้สึก ไม่แน่นอนในการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 27 ราย ซึ่งเป็นผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ดูแลหลัก และมารับการรักษาที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างได้รับการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัว ซึ่งประกอบด้วย 5 กิจกรรม คือ 1) แหล่งสนับสนุนที่ดี 2) รู้จักโรค 3) เพิ่มความกระจ่างแจ้งแผนการรักษา 4) ข้อมูลเพียงพอ และ 5) ติดตามทางโทรศัพท์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับ การสนับสนุนของครอบครัว 2) แผ่นพลิก 3) คู่มือการดูแลผู้สูงอายุกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันสำหรับผู้ดูแล และ 4) แบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย เครื่องมือทั้งหมดผ่าน การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และแบบสอบถามความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย ได้ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .72 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที (paired t-test) ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการได้รับโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัว กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วยต่ำกว่า (M = 82.2, SD = 1.85) ก่อนได้รับโปรแกรม ( M = 108.4, SD = 7.59) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนของครอบครัวสามารถลดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้ ดังนั้นโปรแกรมนี้ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการออกแบบกิจกรรมการพยาบาลทั้งขณะดูแลผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล และเตรียมความพร้อมผู้ป่วยเพื่อวางแผนการจำหน่ายก่อนเพื่อช่วยลดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย และสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับโรค 2023-04-12T03:57:39Z 2023-04-12T03:57:39Z 2021 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17952 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์