คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2564
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17972 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17972 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ข้าว คุณภาพเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษา ความงอก ความแข็งแรง ความมีชีวิต เตตระโซเลียม |
spellingShingle |
ข้าว คุณภาพเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษา ความงอก ความแข็งแรง ความมีชีวิต เตตระโซเลียม นราเดช สุขแก้ว คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2564 |
author2 |
วิชัย หวังวโรดม |
author_facet |
วิชัย หวังวโรดม นราเดช สุขแก้ว |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นราเดช สุขแก้ว |
author_sort |
นราเดช สุขแก้ว |
title |
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
title_short |
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
title_full |
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
title_fullStr |
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
title_full_unstemmed |
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
title_sort |
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17972 |
_version_ |
1764209926054346752 |
spelling |
th-psu.2016-179722023-04-18T07:30:29Z คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการเก็บรักษา และการประเมินความมีชีวิตด้วยวิธีเตตระโซเลียม Rice Seed Quality after Storage and Tetrazolium Test for Viability Evaluation นราเดช สุขแก้ว วิชัย หวังวโรดม Faculty of Natural Resources (Plant Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ ข้าว คุณภาพเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษา ความงอก ความแข็งแรง ความมีชีวิต เตตระโซเลียม วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2564 Storability and tetrazolium test for viability evaluation of Sangyod Muang Phatthalung and Chiang Phatthalung rice seeds were conducted at Seed Laboratory, Agricultural Innovation and Management Division, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla, during May 2019 – May 2020. The rice seeds were stored in plastic woven bag and kept in polystyrene foam box at room temperature and in cold room (10°C) for 12 months. The seeds were sampling at 0, 3, 6, 9 and 12 months after storage and subjected to test for moisture content, standard germination, mean germination time, first count germination, soil emergence, electrical conductivity, shoot length, root length and seedling dry weight. The results showed that the Sangyod Muang Phatthalung and Chiang Phatthalung rice seeds stored at room temperature had standard germination of 80.00 and 82.50%, respectively, after being stored for 3 months. The seed germination and vigor dramatically decreased after being stored for more than 9 months. The seeds in cold room storage still had high standard germination of 85.00 and 90.50%, respectively, after storage for 12 months. High seed vigor in terms of soil emergence, shoot length, root length and seedling dry weight, was also found. Therefore, Sangyod Muang Phatthalung and Chiang Phatthalung rice seeds can be stored at room temperature for 3 months or in a plastic woven bag in a cold room (10°C) for 12 months. The Sangyod Muang Phatthalung and Chiang Phatthalung seeds were stored at room temperature and in a cold room. TZ testing for viability evaluation was done at 0, 3, 6, 9 and 12 months of storage time, with seeds subjected to concentrations of 0.50, 0.25, 0.125 and 0.0625% with a staining temperature of 30, 35, 40 and 45°C for 2 hours, and compared with standard germination and TZ staining of 1.00% at 30°C for 2 hours. The results showed that no appropriate TZ staining condition could evaluate the viability of Sangyod Muang Phatthalung rice seed. The tetrazolium test with 0.125% salt concentration at 40°C accurately evaluated Chiang Phatthalung rice seed viability. High correlations between the TZ results and seed vigor in terms of mean germination time, first count germination, soil emergence, shoot length, root length and seedling dry weight, were also found. การศึกษาคุณภาพหลังการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์สังข์หยดเมืองพัทลุง และพันธุ์เฉี้ยงพัทลุง และวิธีการทดสอบความมีชีวิตด้วยการย้อมเตตระโซเลียม ทดลองที่ห้องปฏิบัติการเมล็ดพันธุ์พืช สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ระหว่าง เดือน พฤษภาคม 2562 ถึงพฤษภาคม 2563 โดยการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในกระสอบพลาสติกสาน ใส่ในกล่องโฟม เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้อง และห้องเย็นอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 เดือน สุ่มเมล็ดพันธุ์ที่อายุ 0 3 6 9 และ 12 เดือนหลังการเก็บรักษามาศึกษาความชื้น ความงอกมาตรฐาน เวลาเฉลี่ยในการงอก ความงอก เมื่อนับครั้งแรก ความงอกในดิน การนำไฟฟ้า ความยาวยอด ความยาวราก และน้ำหนักแห้งต้นกล้า พบว่าเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์สังข์หยดเมืองพัทลุง และพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง มีความงอกมาตรฐาน 80.00 และ 82.50 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ หลังการเก็บรักษานาน 3 เดือน และเมล็ดพันธุ์ที่อายุการเก็บรักษานาน 9 เดือนขึ้นไป มีความงอกและความแข็งแรงลดลงอย่างมาก ในขณะที่การเก็บรักษาในห้องเย็น นาน 12 เดือน เมล็ดพันธุ์ยังคงมีความงอกมาตรฐานสูง 85.00 และ 90.50 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และมีความแข็งแรงสูงในรูปความงอกในดิน ความยาวยอด ความยาวราก และน้ำหนักแห้งต้นกล้า จากผลการทดลองนี้สรุปได้ว่าเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์สังข์หยดเมืองพัทลุง และพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงที่บรรจุในกระสอบ พลาสติกสานสามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องได้นาน 3 เดือน และสามารถเก็บรักษาในห้องเย็นอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ได้นาน 12 เดือน การศึกษาวิธีการทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์สังข์หยดเมืองพัทลุง และเฉี้ยงพัทลุง ทำโดยสุ่มเมล็ดพันธุ์ที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง และห้องเย็น นาน 0 3 6 9 และ 12 เดือน มาย้อมสารละลายเตตระโซเลียมความเข้มข้น 0.50 0.25 0.125 และ 0.0625 เปอร์เซ็นต์ ที่อุณหภูมิ 30 35 40 และ 45 องศาเซลเซียส นาน 2 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับความงอกมาตรฐาน และการย้อมที่ความเข้มข้น 1.00 เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส นาน 2 ชั่วโมง พบว่าไม่มีระดับความเข้มข้นของสารละลายเตตระโซเลียม และอุณหภูมิ ที่เหมาะสมในการทดสอบความมีชีวิตสำหรับเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์สังข์หยดเมืองพัทลุง ในขณะที่การย้อมเมล็ดพันธุ์ด้วยสารละลายเตตระโซเลียมความเข้มข้น 0.125 เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส สามารถใช้ประเมินความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงได้ และพบว่ามีความสัมพันธ์สูงกับความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์ในรูปเวลาเฉลี่ยในการงอก ความงอกเมื่อนับครั้งแรก ความงอกในดิน ความยาวยอด ความยาวราก และน้ำหนักแห้งต้นกล้าด้วย 2023-04-18T07:30:11Z 2023-04-18T07:30:11Z 2021 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17972 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |