ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ), 2564

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จิรายุส วิวัฒนานุกูล
Other Authors: พงศ์พัฒน์ สนทะมิโน
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17992
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17992
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
พลวัตระบบ
วางแผนพัฒนาเหมืองหิน
เหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน พลศาสตร์
spellingShingle ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
พลวัตระบบ
วางแผนพัฒนาเหมืองหิน
เหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน พลศาสตร์
จิรายุส วิวัฒนานุกูล
ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
description วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ), 2564
author2 พงศ์พัฒน์ สนทะมิโน
author_facet พงศ์พัฒน์ สนทะมิโน
จิรายุส วิวัฒนานุกูล
format Theses and Dissertations
author จิรายุส วิวัฒนานุกูล
author_sort จิรายุส วิวัฒนานุกูล
title ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_short ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_full ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_fullStr ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_full_unstemmed ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
title_sort ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17992
_version_ 1764209928955756544
spelling th-psu.2016-179922023-04-19T07:36:42Z ต้นแบบจำลองพลวัตระบบเพื่อการวางแผนพัฒนาเหมืองหินในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา A System Dynamics Prototype Model for Quarrying Development Planning in the Songkhla Lake Basin จิรายุส วิวัฒนานุกูล พงศ์พัฒน์ สนทะมิโน มนูญ มาศนิยม วิษณุ ราชเพ็ชร Faculty of Engineering Mining and Materials Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และโลหะวิทยา ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา พลวัตระบบ วางแผนพัฒนาเหมืองหิน เหมืองและการทำเหมืองถ่านหิน พลศาสตร์ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเหมืองแร่และวัสดุ), 2564 The Songkhla Lake Basin is a diversified resource and an important socioeconomic development area. Industrial rock resource management is important to managing appropriate and sustainable use of industrial rock resources in the area. Creating a system dynamics model is an excellent technique to describe and comprehend system dynamics. It will be a good tool for mineral resource development planning for quarrying in the Songkhla Lake Basin, allowing policymakers to design an optimal resource utilization. The prototype model performs a simulation to estimate demand for industrial rocks and responds with simulation results of the number of mining permits with the potential to meet demand. Based on prior statistics, the simulation result, industrial crushed rock aggregate demand, can be split into 3 trends: high, mean, and low level. It gives simulation results that show the amount of mining permits that are appropriate and capable of meeting the demands that change depending on the scenarios. On average condition, at least 3 - 4 quarries are required. In the current situation, these 2 existing quarries are unable to meet the demand for industrial rock in the area, and their mining permits and mine reserves are running out. Therefore, it is critical to consider allowing new quarries and/or renewing existing quarries that are about to expire in order to maintain and enhance production capacity to satisfy demand. Finally, the optimization tool simulation findings indicate that the area also requires at least 3 mining permits, with a production capacity that can change based on demand increasing in the range of each quarry 400,000 – 473,000 metric tons per year, or the net demand 1.2-1.4 MMT per year until the resources run out. ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาเป็นพื้นที่ศึกษาที่มีความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ การจัดการทรัพยากรหินอุตสาหกรรมเพื่อให้เกิดความเหมาะสมและยั่งยืนของการใช้ทรัพยากรในพื้นที่เพื่อการก่อสร้างจึงเป็นประเด็นที่มีความสำคัญ พลวัตระบบเป็นวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายและช่วยให้เข้าใจด้วยการพัฒนาแบบจำลองพลวัตระบบ โดยเป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาทรัพยากรในลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมในเชิงนโยบาย และสร้างผลจำลองคาดการณ์ความต้องการใช้หินอุตสาหกรรมก่อสร้างในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาพร้อมทั้งสะท้อนผลจำลองของจำนวนประทานบัตรที่จำเป็นเพื่อสนองความต้องใช้หินนี้อย่างเพียงพอ จากสถานการณ์จำลองสามารถแบ่งแนวโน้มความต้องการใช้หินมวลรวมได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ระดับสูง ระดับปานกลาง และระดับต่ำจากชุดข้อมูลทางสถิติในอดีต ซึ่งให้ผลจำลองที่สะท้อนพฤติกรรมระบบด้วยจำนวนของการอนุญาตประทานบัตรที่เหมาะสมและมีศักยภาพรองรับความต้องการที่หลากหลายตามแต่ละสถานการณ์ โดยแนวโน้มที่ระดับค่าเฉลี่ยจะมีความต้องการจำนวนประทานบัตรอย่างน้อยประมาณ 3-4 แห่ง จากสถานการณ์ปัจจุบันคาดว่าประทานบัตรที่ยังมีใบอนุญาตอยู่ 2 แห่ง โดยปริมาณสำรองของเหมืองและอายุประทานบัตรเดิม 2 แห่งนี้กำลังจะหมดลง และจะมีศักยภาพรองรับความต้องการใช้หินในพื้นที่ไม่เพียงพอในอนาคต ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องการพิจารณาอนุญาตให้พัฒนาแหล่งปริมาณสำรองเหมืองหินแห่งใหม่หรือการต่ออายุประทานบัตรเดิมที่กำลังจะหมดลงเพื่อเพิ่มและรักษาสมดุลการผลิตหินต่อความต้องการใช้ในพื้นที่ และจากผลจำลองด้วยเครื่องมือ Optimization ให้ข้อเสนอแนะถึงจำนวนประทานบัตรที่มีความเหมาะสมในการรองรับความต้องการใช้หินก่อสร้างควรอยู่ที่ 3 แห่ง โดยมีอัตรากำลังการผลิตต่อเหมืองที่ปรับตัวขึ้นกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นอยู่ในช่วง 400,000 – 473,000 เมตริกตันต่อปี หรือคิดเป็นกำลังการผลิตรวมที่ 1.2-1.4 ล้านเมตริกตันต่อปี จนกระทั่งทรัพยากรในพื้นที่หมดลง 2023-04-19T07:36:41Z 2023-04-19T07:36:41Z 2021 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17992 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์