บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18044 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18044 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
iron เหล็ก ผักสลัด ไฮโดรโพนิกส์ สังกะสี hydroponics lettuce zinc |
spellingShingle |
iron เหล็ก ผักสลัด ไฮโดรโพนิกส์ สังกะสี hydroponics lettuce zinc หัทยา คงสุข บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2565 |
author2 |
อัจฉรา เพ็งหนู |
author_facet |
อัจฉรา เพ็งหนู หัทยา คงสุข |
format |
Theses and Dissertations |
author |
หัทยา คงสุข |
author_sort |
หัทยา คงสุข |
title |
บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
title_short |
บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
title_full |
บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
title_fullStr |
บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
title_full_unstemmed |
บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
title_sort |
บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18044 |
_version_ |
1764209934626455552 |
spelling |
th-psu.2016-180442023-04-20T09:26:51Z บทบาทของเหล็กและสังกะสี ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณธาตุอาหารในผักสลัด ที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ Role of Iron and Zinc on Growth and Nutrient Content of Lettuce in Hydroponic System หัทยา คงสุข อัจฉรา เพ็งหนู Faculty of Natural Resources (Earth Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาธรณีศาสตร์ iron เหล็ก ผักสลัด ไฮโดรโพนิกส์ สังกะสี hydroponics lettuce zinc วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรดิน), 2565 Nowadays, consumers have a demand for hydroponic lettuce which is safe from pesticide and contain beneficial nutrition. Especially iron and zinc are necessary for plants and the human body, and an inadequate daily intake of iron and zinc is a widespread problem. The objective of this study was to investigate the effects of iron and zinc fortification in the hydroponic system on the growth, nitrate, and nutrient content of lettuce and the effect of iron and zinc fortified lettuce on human primary colon cells (T4056). The experiment design was a completely randomized design, CRD with 3 experiments 1) Effect of iron-fortified with B-Veggie bio-agent on lettuce growth in flood roots system. 2) Effect iron and zinc fortified on the growth and quality of lettuce in the deep root floating technique, DRFT system. 3) Effect of nutrient fortified lettuce on primary human colon cells. The result showed that the B-Veggie bio-agent promotes lettuce growth and increases their high iron tolerance ability. Green oak and frillice iceberg, with the use of B-Veggie bio-agent, fortified with iron at 8.83 mg/L can grow normally compared to the unfortified green oak and frillice iceberg. Iron-fortified (8.83 mg/L) increased iron content in 5 lettuces (green cos, frillice iceberg, green oak, red oak, and butterhead) 1.10-1.27 times, with frillice iceberg obtaining the highest iron content (16.70 mg/kg fresh weight), but the amount of nitrogen, phosphorus, potassium, calcium, magnesium, and zinc tends to decrease. Zinc fortified (21.15 mg/L) increased zinc content in 5 lettuces 4.68-6.05 times, with green oak the highest zinc content (16.70 mg/kg fresh weight), but the amount of nitrate and iron tends to decrease. Iron with zinc fortified (4.42 mg/L and 10.58 mg/L, respectively) make butterhead growth and iron content similarly to the unfortified one and increased the zinc content of butterhead around 2 times. With the MTT cytotoxicity test, the extract of 3 lettuces (green oak, red oak, and butterhead) at 0 0.15 0.31 0.62 1.25 2.5 and 5 mg/mL with nutrients fortified and unfortified management. The result showed that the survival of human primary colon cells at the lowest level remains as high as 79.04% (the safety extract must not decrease the cell viability to less than 50%). It indicated the safety of lettuce for consumption. Green oak extract keeps the percentage of cell survival in the range of 90.19%-112.26%. The zinc fortified green oak extract at 2.5 mg/mL evoked cells to the highest growth level. Red oak extract keeps the percentage of cell survival in the range of 79.04%-118.20%. The iron-fortified red oak extract at 0.62 mg/mL evoked cells to the highest growth level, but the zinc-fortified red oak extract at the highest concentration decreased the percentage of cell survival by 20.96%. Butterhead extract keeps the percentage of cell survival in the range of 99.63%-154.40%. The iron-fortified butterhead extract at the highest concentration evoked cells to the highest growth level. In conclusion, iron and zinc fortified lettuce grows normally with high quality and high iron and zinc content, along with the low potassium content and nitrate below the EFSA standard. The fortified lettuce was also safe for the primary colon cells cell. It could be upgraded to a functional vegetable in the future. ในปัจจุบัน ผู้บริโภคมีความต้องการผักสลัดที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ ซึ่งปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและมีธาตุอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น โดยเฉพาะธาตุเหล็กและสังกะสี ที่จำเป็นต่อพืชและร่างกายมนุษย์ ซึ่งการได้รับธาตุเหล็กและสังกะสีที่ไม่เพียงพอต่อร่างกายในแต่ละวัน กำลังเป็นปัญหาที่พบในวงกว้าง จึงนำมาสู่การศึกษาผลของการเพิ่มธาตุเหล็กและธาตุสังกะสี ที่มีต่อการเจริญเติบโต การสะสมไนเทรต และธาตุอาหาร ในผักสลัดที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ และศึกษาผลของผักสลัดเพิ่มธาตุเหล็กและธาตุสังกะสี ที่มีต่อเซลล์ลำไส้มนุษย์ (T4056) โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomized design, CRD ประกอบด้วย 3 การทดลอง 1) การเสริมธาตุเหล็กร่วมกับชีวภัณฑ์ B-Veggie ต่อการเจริญเติบโตของผักสลัด ในชุดปลูกแบบอาศัยน้ำซึมซับเข้าสู่รากผัก 2) การเสริมธาตุเหล็กและธาตุสังกะสีต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักสลัด ในชุดปลูกแบบ deep root floating technique, DRFT 3) การทดสอบผักสลัดเสริมธาตุอาหารกับเซลล์ลำไส้มนุษย์ พบว่า ชีวภัณฑ์ B-Veggie ส่งเสริมการเจริญเติบโตและเพิ่มความทนต่อภาวะเหล็กสูงของผักสลัด ซึ่งการเสริมธาตุเหล็กที่ระดับ 8.83 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับการใช้ชีวภัณฑ์ทำให้กรีนโอ๊คและฟิลเลย์ไอซ์เบิร์กเจริญเติบโตได้ไม่แตกต่างกับการไม่เสริมธาตุเหล็ก และการเสริมธาตุเหล็ก 8.83 มิลลิกรัมต่อลิตร ทำให้ผักสลัด 5 ชนิด (กรีนคอส ฟิลเลย์ไอซ์เบิร์ก กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค และบัตเตอร์เฮด) มีปริมาณเหล็กเพิ่มขึ้น 1.10-1.27 เท่า และปริมาณแมงกานีสเพิ่มขึ้น แต่ทำให้ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี มีแนวโน้มลดลง โดยฟิลเลย์ไอซ์เบิร์กเสริมธาตุเหล็ก มีปริมาณเหล็กมากที่สุด (16.70 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักสด) การเสริมธาตุสังกะสีที่ 21.15 มิลลิกรัมต่อลิตร ทำให้ผักสลัดทั้ง 5 ชนิดมีปริมาณสังกะสีเพิ่มขึ้น 4.68-6.05 เท่า และทำให้ปริมาณไนเทรตและเหล็กมีแนวโน้มลดลง โดยกรีนโอ๊คเสริมธาตุสังกะสี มีปริมาณสังกะสีมากที่สุด (13.34 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักสด) การเสริมสารละลายผสมธาตุเหล็กที่ 4.42 มิลลิกรัมต่อลิตร และธาตุสังกะสี 10.58 มิลลิกรัมต่อลิตร ทำให้บัตเตอร์เฮดเสริมธาตุเหล็กร่วมกับสังกะสี มีการเจริญเติบโตและปริมาณเหล็กไม่แตกต่างกับการให้ธาตุอาหารพืชในอัตราปกติ และมีปริมาณสังกะสีเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่า และพบว่าสารสกัดจากผักสลัด 3 ชนิด (กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค และบัตเตอร์เฮด) ที่ได้รับธาตุอาหารพืชในอัตราปกติและเสริมธาตุอาหาร ที่ความเข้มข้นของสารสกัดที่ 0 0.15 0.31 0.62 1.25 2.5 และ 5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ทำให้ระดับการมีชีวิตรอดของเซลล์ลำไส้มนุษย์ที่น้อยที่สุดยังคงสูงถึง 79.04% (สารทดสอบที่ปลอดภัยจะต้องไม่ทำให้เปอร์เซ็นต์การอยู่รอดของเซลล์ลดลงจนถึงระดับที่ต่ำกว่า 50%) ซึ่งบ่งชี้ว่าปลอดภัยสำหรับการบริโภค โดยสารสกัดจากกรีนโอ๊ค ทำให้เปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตของเซลล์อยู่ในช่วง 90.19%-112.26% ซึ่งสารสกัดจากกรีนโอ๊คเสริมธาตุสังกะสี ที่ความเข้มข้น 2.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ทำให้เซลล์มีแนวโน้มการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นมากที่สุด และสารสกัดจากเรดโอ๊ค ทำให้เปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตของเซลล์อยู่ในช่วง 79.04%-118.20% โดยสารสกัดจากเรดโอ๊คเสริมธาตุเหล็กที่ความเข้มข้น 0.62 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ทำให้เซลล์มีแนวโน้มการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นมากที่สุด แต่สารสกัดเรดโอ๊คเสริมธาตุสังกะสีที่ความเข้มข้นสูงสุด (5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ทำให้เซลล์มีแนวโน้มการเจริญเติบโตลดลง 20.96% และสารสกัดจากบัตเตอร์เฮด ทำให้เปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตของเซลล์อยู่ในช่วง 99.63%-154.40% โดยสารสกัดจากบัตเตอร์เฮดเสริมธาตุเหล็กที่ความเข้มข้นสูงสุด ทำให้เซลล์มีแนวโน้มการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นมากที่สุด จึงสรุปได้ว่า การเสริมธาตุเหล็ก การเสริมธาตุสังกะสี และการเสริมธาตุเหล็กร่วมกับสังกะสี ทำให้ผักสลัดเจริญเติบโตได้ตามปกติ และมีคุณภาพมากขึ้น ด้วยปริมาณเหล็กและสังกะสีที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งมีปริมาณโพแทสเซียมลดลง และมีปริมาณไนเทรตไม่เกินค่ามาตรฐานที่กำหนดโดยหน่วยงานความปลอดภัยด้านอาหารแห่งสหภาพยุโรป และปลอดภัยต่อเซลล์ลำไส้มนุษย์ สามารถใช้เป็นแนวทางในการเพิ่มมูลค่าของผักสลัด และพัฒนาเป็นผักทางเลือกเพื่อสุขภาพ (functional vegetable) ได้ในอนาคต 2023-04-20T09:26:33Z 2023-04-20T09:26:33Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18044 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |