การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18056 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18056 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
จิตวิทยาศาสตร์ สามจังหวัดชายแดนใต้ การพัฒนาแบบวัด การวัดผลทางการศึกษา การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ การเรียนรู้แบบผสมผสาน วิทยาศาสตร์ การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Scientific Mind |
spellingShingle |
จิตวิทยาศาสตร์ สามจังหวัดชายแดนใต้ การพัฒนาแบบวัด การวัดผลทางการศึกษา การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ การเรียนรู้แบบผสมผสาน วิทยาศาสตร์ การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Scientific Mind ฮาฟิษ กาเส็มส๊ะ การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
description |
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา), 2565 |
author2 |
มัฮดี แวดราแม |
author_facet |
มัฮดี แวดราแม ฮาฟิษ กาเส็มส๊ะ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ฮาฟิษ กาเส็มส๊ะ |
author_sort |
ฮาฟิษ กาเส็มส๊ะ |
title |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
title_short |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
title_full |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
title_fullStr |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
title_sort |
การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18056 |
_version_ |
1764209935870066688 |
spelling |
th-psu.2016-180562023-04-21T03:57:10Z การพัฒนาแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ Development of Scientific Mind Scale for Junior High School Students in the Three Southern Border Provinces ฮาฟิษ กาเส็มส๊ะ มัฮดี แวดราแม จิระวัฒน์ ตันสกุล สรินฎา ปุติ Faculty of Education (Measurement and Educational Research) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา จิตวิทยาศาสตร์ สามจังหวัดชายแดนใต้ การพัฒนาแบบวัด การวัดผลทางการศึกษา การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ การเรียนรู้แบบผสมผสาน วิทยาศาสตร์ การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Scientific Mind ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา), 2565 The purposes of this research were 1) to construct of scientific mind scale for Junior High School Students in the three southern border provinces 2) to verify the quality by the Classical Test Theory (CTT) and Item Response Theory (IRT). The sample were 675 students selected by three-stage random sampling technique. The students selected were studying in junior high school under the jurisdiction of the Secondary Education Office Service Area and Office of the Private Education in the three southern border provinces. The measurement scale designed was performed via the Classical Test Theory by content validity, discrimination, and reliability with Cronbach’ alpha coefficient and the quality of the measurement scale by Item Response Theory. and parameter testing was accomplished by confirmatory factor analysis (CFA), discriminant and difficulty, and test information was conducted via Grade Response Model (GRM). The findings were. 1. The Measurement Scientific Mind Scale for Junior High School Students in the Three Southern Border Provinces composed 10 components including 1) curiosity 2) honesty 3) patience, strive and persevere 4) orderliness and prudence 5) responsibility 6) initiative 7) rationality 8) generosity 9) cooperation and 10) good attitude toward science. Each component has 4 indicative behaviors, a total of 40 indicative behaviors. During the construction of the measurement, there were quality checks and improvements until a total of 40 item. 2. The quality measurement scale. Content validity of the scale range from 0.71-1.00, t-test was used to analyze the discrimination. The reliability was 0.893. using by confirmatory factor found Scientific Mind were unmistakable when examining the quality of the Grade Response Model (GRM). The slope parameter(α) is between 0.58-1.45 and the difficulty value The threshold value of each item (β) is the lowest order value, and reliability is 0.9216 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ และ 2) เพื่อหาคุณภาพของแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในสามจังหวัดชายแดนใต้ โดยใช้ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม และทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่ ตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาและสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนในสามจังหวัดชายแดนใต้ ประจำปี การศึกษา 2564 จำนวน 675 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบ 3 ขั้นตอน (three-stage random sampling) เครื่องมือที่ใช้คือ แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสำหรับ นักเรียนในสามจังหวัดชายแดนใต้ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ตรวจสอบคุณภาพโดยใช้ทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม โดยวิเคราะห์ความตรงเชิงเนื้อหา วิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกรายข้อด้วย t-test และวิเคราะห์ ความเที่ยงของแบบวัดทั้งฉบับด้วยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า และตรวจสอบคุณภาพโดยใช้ ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่โดยตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยัน(CFA) และตรวจสอบพารามิเตอร์ของข้อสอบ ได้แก่ อำนาจจำแนก (α) ความยาก(β) และ สารสนเทศของแบบวัด ด้วย Grade-Response Model (GRM) ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบวัดที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วยองค์ประกอบจิตวิทยาศาสตร์ 10 องค์ประกอบ คือ 1) ความอยากรู้อยากเห็น 2)ความซื่อสัตย์ 3) ความอดทน มุ่งมั่น และเพียรพยายาม 4) ความมี ระเบียบ และละเอียดรอบคอบ 5) ความรับผิดชอบ 6) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7) ความมีเหตุผล 8) ความใจกว้าง 9) ความร่วมมือช่วยเหลือ และ10) เจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ องค์ประกอบละ 4 พฤติกรรมบ่งชี้ รวมทั้งสิ้น 40 พฤติกรรมบ่งชี้ โดยในระหว่างสร้างแบบวัดมีการตรวจคุณภาพ และ ปรับปรุง แก้ไข จนได้ข้อคำถามทั้งหมด 40 ข้อ 2. คุณภาพของแบบที่พัฒนาขึ้น มีความตรงเชิงเนื้อหาผ่านเกณฑ์ทุกข้อ มีค่าอยู่ ระหว่าง 0.71-1.00 ตรวจสอบอำนาจจำแนกผ่านเกณฑ์ทุกข้อ มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.893 ความตรงเชิงโครงสร้าง พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คุณภาพของแบบวัดตาม ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบตรวจให้คะแนนมากกว่า 2 ค่า พบว่าค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (α) อยู่ระหว่าง 0.58-1.45 ส่วนค่าความยาก(β) ของแต่ละรายการคำตอบมีค่าเรียงลำดับจากน้อยไปมาก ทุกข้อ และค่าสารสนเทศของแบบวัดมีความเที่ยงเท่ากับ 0.9216 2023-04-21T03:56:52Z 2023-04-21T03:56:52Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18056 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |