Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872)
Master of Science (Biology (International Program)), 2022
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | English |
Published: |
Prince of Songkla University
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18085 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | English |
id |
th-psu.2016-18085 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
English |
topic |
symbiosis Elysia Halimeda |
spellingShingle |
symbiosis Elysia Halimeda Apisara Nakpan Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) |
description |
Master of Science (Biology (International Program)), 2022 |
author2 |
Kringpaka Wangkulangkul |
author_facet |
Kringpaka Wangkulangkul Apisara Nakpan |
format |
Theses and Dissertations |
author |
Apisara Nakpan |
author_sort |
Apisara Nakpan |
title |
Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) |
title_short |
Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) |
title_full |
Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) |
title_fullStr |
Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) |
title_full_unstemmed |
Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) |
title_sort |
population dynamics and behavioral ecology of halimeda slug elysia pusilla (bergh, 1872) |
publisher |
Prince of Songkla University |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18085 |
_version_ |
1764209939055640576 |
spelling |
th-psu.2016-180852023-04-21T09:09:34Z Population Dynamics and Behavioral Ecology of Halimeda slug Elysia pusilla (Bergh, 1872) พลวัตประชากร และนิเวศวิทยาพฤติกรรมของทากทะเลสาหร่ายใบมะกรูด Elysia pusilla (Bergh, 1872) Apisara Nakpan Kringpaka Wangkulangkul Faculty of Science (Biology) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา symbiosis Elysia Halimeda Master of Science (Biology (International Program)), 2022 Elysia pusilla (Bergh, 1872) is a sacoglossan sea slug that feeds on calcified green algae, Halimeda spp. It can incorporate and maintain chloroplasts from its algal food in its digestive glands, exhibiting kleptoplasty. The slug distributes in tropical Indo-Pacific. Evolution, symbiotic relationship, and kleptoplastic ability of sea slug have been well documented. However, less is known about their temporal variation in natural populations including the relationship between abundance of slugs and its algal hosts. Therefore, in this study, population dynamics of E. pusilla, the relationship between abundance of E. pusilla and its algal hosts, Halimeda macroloba, and behavioral ecology of E. pusilla were investigated at Lidee Island, Satun province. The results show that there was temporal variation in density of H. macroloba and E. pusilla egg masses but there was no variation in density of E. pusilla individuals because the number of the slugs was low. The analysis suggested that density and total surface area of H. macroloba which is the habitat availability might determine the occurrence of the slugs and the egg masses. There was a higher occasion to find the slugs in dense patches of the algae in which it related to surface area of the algal host. In this study, the age of algae was categorized into 4 stages, stage 1 is the new recruitment and stage 4 is mature plant. The highest number of slugs, egg masses and grazing marks were found on stage 4 which has the largest surface area comparing to the other stages. The highest number of egg masses and segments with grazing marks were found on the terminal segments. This part of the thalli has high concentration of secondary metabolites. These secondary metabolites reported to be utilized by slugs to deter their predators. In addition, terminal segments have thin calcification which helped the slugs graze easier. Moreover, the upper segments including terminal segments have larger surface area than the basal segments, reflecting the larger area of habitat use for the slugs. It might be another reason of a high occurrence of egg masses and grazing marks. Therefore, the amount of surface area which is related to the availability of habitat might be the important factor of habitat selection in E. pusilla. Elysia pusilla (Bergh, 1872) เป็นทากทะเลในกลุ่ม Sacoglossa ซึ่งเป็นสัตว์กินพืช โดยกินเฉพาะสาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda spp.) ทากชนิดนี้สามารถเก็บคลอโรพลาสต์จากสาหร่ายที่มันกินเข้าไปและนำมาใช้ประโยชน์ได้ คุณสมบัตินี้เรียกว่า Kleptoplasty การกระจายตัวของทากชนิดนี้จะอยู่ในบริเวณเขตร้อนของอินโด-แปซิฟิก มีการศึกษามากมายเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ความสัมพันธ์แบบ symbiotic ของทากกับสาหร่ายที่เป็นแหล่งอาศัย และคุณสมบัติ Kleptoplasty แต่การศึกษาในด้านพลวัตรประชากรของทากในธรรมชาติในช่วงระยะเวลาหนึ่งรวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างความชุกชุมของทากและสาหร่ายที่เป็นที่แหล่งอาศัยยังมีการศึกษาน้อย ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงสนใจศึกษาพลวัตรประชากรของทาก E. pusilla ในธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างความชุกชุมของทาก E. pusilla และสาหร่ายที่เป็นแหล่งอาศัย และนิเวศวิทยาพฤติกรรมของทาก E. pusilla กับสาหร่าย Halimeda macroloba โดยผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าความหนาแน่นของสาหร่าย H. macroloba และก้อนไข่ของ E. pusilla มีความแปรปรวนในช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษา แต่ความหนาแน่นของตัวทากกลับไม่มีความแปรปรวนในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเนื่องจากจำนวนทากที่พบมีจำนวนน้อย ผลการวิเคราะห์คาดว่าความหนาแน่นและพื้นที่ผิวของ H. macroloba ที่ทากสามารถใช้ประโยชน์ได้ อาจจะเป็นตัวกำหนดการปรากฏของทาก E. pusilla และก้อนไข่ และจะมีโอกาสสูงมากที่จะพบทากในบริเวณที่มี หย่อมสาหร่ายที่หนาแน่นสูงเนื่องจากมีพื้นที่ใช้ประโยชน์ที่มากกว่า ในการศึกษาครั้งนี้ อายุของสาหร่ายถูกจัดกลุ่มเป็น 4 ระยะ โดยระยะที่ 1 เป็นระยะที่สาหร่ายเพิ่งลงเกาะใหม่จนถึงระยะที่ 4 ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายเจริญเติบโตเต็มที่ จำนวนสูงสุดของทาก ก้อนไข่ และต้นสาหร่ายที่ถูกกิน พบในสาหร่ายระยะที่ 4 ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายเจริญเติบโตเต็มที่ และมีพื้นที่ผิวที่กว้างที่สุดมากกว่าระยะอื่นๆ จำนวนสูงสุดของก้อนไข่ และแผ่นใบ (segment) ที่พบรอยกัดของทาก พบบนบริเวณปลายสุดของแผ่นใบของต้นสาหร่าย ซึ่งบริเวณนี้เป็นบริเวณที่มีความเข้มข้นของ secondary metabolites สูง สาร secondary metabolites เหล่านี้จะถูกทากนำไปใช้เพื่อปกป้องตัวเองจากผู้ล่า นอกจากนี้บริเวณปลายสุดของแผ่นใบเป็นบริเวณที่มีการสะสมหินปูนน้อยซึ่งจะช่วยให้ทากครูดสาหร่ายกินได้ง่ายขึ้น สัดส่วนของบริเวณด้านบนของแผ่นใบและบริเวณปลายสุดของแผ่นใบ มีพื้นที่กว้างกว่าบริเวณแผ่นใบส่วนฐาน ดังนั้นบริเวณด้านบนของแผ่นใบจะครอบครองพื้นที่มากที่สุดซึ่งแสดงถึงพื้นที่ผิวที่มากกว่า ซึ่งอาจจะเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรากฏของก้อนไข่และรอยกัดที่มากกว่า และพื้นที่ผิวใบของสาหร่ายอาจเป็นปัจจัยสำคัญในการเลือกที่อยู่อาศัยของทากชนิดนี้ 2023-04-21T09:09:34Z 2023-04-21T09:09:34Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18085 en Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf Prince of Songkla University |