ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร),2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18100 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18100 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
กรดอะมิโนลีวูลินิก hepatopancreatic microsporidiosis 5-ALA การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล กุ้งโตช้า Enterocytozoon hepatopenaei การตายเรื้อรัง |
spellingShingle |
กรดอะมิโนลีวูลินิก hepatopancreatic microsporidiosis 5-ALA การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล กุ้งโตช้า Enterocytozoon hepatopenaei การตายเรื้อรัง สุธาทิพย์ คงปล้อง ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร),2566 |
author2 |
ดวงแขฑิตา กาญจนโสภา |
author_facet |
ดวงแขฑิตา กาญจนโสภา สุธาทิพย์ คงปล้อง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุธาทิพย์ คงปล้อง |
author_sort |
สุธาทิพย์ คงปล้อง |
title |
ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) |
title_short |
ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) |
title_full |
ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) |
title_fullStr |
ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) |
title_full_unstemmed |
ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) |
title_sort |
ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ enterocytozoon hepatopenaei (ehp) |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18100 |
_version_ |
1765217213887807488 |
spelling |
th-psu.2016-181002023-04-25T06:15:45Z ผลของกรดอะมิโนลีวูลินิกต่อระดับเอทีพีในเซลล์ตับกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่ติดเชื้อ Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) The Effects of 5-Aminolevulinic Acid on ATP Levels in Hepatopancreas of the Pacific Whiteleg Shrimp Litopenaeus vannamei Infected by Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) สุธาทิพย์ คงปล้อง ดวงแขฑิตา กาญจนโสภา ภัททิรา พงษ์ทิพย์พาที คณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร Faculty of Innovative Agriculture and Fisheries (Agricultural Science and Technology) กรดอะมิโนลีวูลินิก hepatopancreatic microsporidiosis 5-ALA การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล กุ้งโตช้า Enterocytozoon hepatopenaei การตายเรื้อรัง วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร),2566 Hepatopancreatic microsporidiosis, the shrimp disease caused by Enterocytozoon hepatopenaei (EHP) infection, has been widely spread in farmed Litopenaeus vannamei in Thailand. The symptoms include decreased feeding, muscle waste, slow growth, and chronic mortality. Since 5-aminolaevulinic acid (5-ALA), a non-protein amino acid, has been known to enhance ATP production in the cell through the increased formation of hemoproteins in the electron transport complex of mitochondria, it was hypothesized that providing 5-ALA to EHP-infected shrimp might reduce the mortality caused by the infection. Naturally EHP-infected L. vannamei were randomly sampled from a commercial shrimp pond that showed signs of hepatopancreatic microsporidiosis. The shrimp samples were reared under 30 ppt seawater in 40-L plastic tanks, divided into four groups; each receiving commercial pellets supplemented with different doses of 5-ALA: 0 (control), 15, 30, and 60 ppm. After 21 days of the experiment, it was found that the shrimp receiving 5-ALA at 60 ppm survived at a rate significantly (p<0.05) higher than that of other groups, and had a significant increase in biomass, compared with that of the control group. Histology of the hepatopancreas of the 60-ppm group revealed significantly (p<0.01) less percentage of atrophic epithelium and larger areas of the vacuoles of the B-cells, suggesting improved hepatopancreatic functions. The levels of the EHP load in the hepatopancreas as revealed by semi-quantitative PCR were increasing in a dose-related manner of 5-ALA supplement, with EHP being detected histologically. The ATP levels in the hepatopancreas of the 30- and 60-ppm groups were significantly (p<0.01) higher than that of the control group. Further tests in the commercial-scaled farms are required to find out if the 5-ALA supplement is beneficial to the EHP-infected L. vannamei. ทุนสนับสนุนระดับบัณฑิตศึกษา สาขาความเป็นเลิศการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืน (Discipline of Excellence ; DoE) บริษัท ไทยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) Hepatopancreatic microsporidiosis เป็นโรคกุ้งที่เกิดจากการติดเชื้อรา Enterocy-tozoon hepatopeneai (EHP) ที่พบการแพร่ระบาดอย่างหนักในฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม Litope-naeus vannamei ของประเทศไทย กุ้งที่ติดเชื้อ EHP จะกินอาหารลดลง มีภาวะกล้ามเนื้อฝ่อ โตช้า และทยอยตาย กรด 5-อะมิโนลีวูลินิก (aminolaevulinic acid, 5-ALA) เป็นกรดอะมิโนที่ไม่เป็นองค์ประกอบของโปรตีน มีส่วนช่วยในการสร้างพลังงานภายในเซลล์ด้วยการเพิ่มการสร้างฮีโมโปรตีนซึ่งมีความสำคัญต่อการสังเคราะห์พลังงาน (ATP) ผ่านการขนส่งอิเล็กตรอนของไมโตคอนเดรีย งานวิจัยครั้งนี้มีสมมติฐานว่าการให้กุ้งที่ติดเชื้อ EHP กินอาหารเสริม 5-ALA อาจลดอัตราการตายของกุ้งที่ติดเชื้อ EHP ได้ นำกุ้งขาวแวนนาไมจากบ่อเลี้ยงเชิงพาณิชย์ที่มีอาการติดเชื้อ EHP มาเลี้ยงในถังพลาสติกขนาด 40 ลิตร ที่ความเค็ม 30 ppt แบ่งกลุ่มการทดลองเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มให้อาหารกุ้งผสม 5-ALA ที่ความเข้มข้น 0 (กลุ่มควบคุม), 15, 30 และ 60 ppm เลี้ยงกุ้งนาน 21 วัน ผลการทดลองพบว่ากุ้งที่ได้รับ 5-ALA ที่ 60 ppm มีอัตรารอดชีวิตสูงที่สุด และมีมวลน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับกุ้งในกลุ่มควบคุม (p<0.05) ผลการศึกษาเนื้อเยื่อวิทยาของตับกุ้งในกลุ่มที่ได้รับ 5-ALA ที่ 60 ppm พบว่าตับมีอาการ atrophic tubule ลดลง รวมถึงพื้นที่แวคิวโอลภายใน B-cell มีขนาดใหญ่ขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.01) แสดงถึงการทำงานของตับที่ดีขึ้น เมื่อตรวจปริมาณการติดเชื้อ EHP ในตับด้วย semi-quantitative PCR พบว่ามีการติดเชื้อเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของ 5-ALA และพบการติดเชื้อ EHP ในตับเมื่อตรวจด้วยเนื้อเยื่อวิทยา ตรวจหาระดับ ATP ในตับกุ้ง พบว่ากุ้งในกลุ่ม 30 และ 60 ppm มีความเข้มข้นของ ATP เพิ่มขึ้นสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.01) ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันว่าการเสริม 5-ALA ในอาหารกุ้งเป็นประโยชน์ต่อการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมที่มีการติดเชื้อ EHP ในระดับฟาร์มเชิงพาณิชย์ 2023-04-25T06:15:45Z 2023-04-25T06:15:45Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18100 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |