ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ธนชาติ รักนุ้ย
Other Authors: บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18109
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-18109
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic เยาวชนมุสลิม
อัตลักษณ์
มลายู
พหุวัฒนธรรม
spellingShingle เยาวชนมุสลิม
อัตลักษณ์
มลายู
พหุวัฒนธรรม
ธนชาติ รักนุ้ย
ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
description รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566
author2 บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ
author_facet บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ
ธนชาติ รักนุ้ย
format Theses and Dissertations
author ธนชาติ รักนุ้ย
author_sort ธนชาติ รักนุ้ย
title ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
title_short ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
title_full ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
title_fullStr ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
title_full_unstemmed ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
title_sort ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18109
_version_ 1765217214844108800
spelling th-psu.2016-181092023-04-27T04:04:26Z ทัศนคติของเยาวชนมุสลิมและภาคประชาสังคมกับกรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี Attitudes of Muslim Youth and Civil Society Organizations upon an Expression of Malayu Identity in the Multicultural Area of Saiburi, Pattani Province ธนชาติ รักนุ้ย บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ เยาวชนมุสลิม อัตลักษณ์ มลายู พหุวัฒนธรรม รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2566 The objectives of this study are 1) to study the attitudes in expressing Malayu identity among Muslim juveniles in Pattani Province; The Case of Expression in Malayu Identity of Muslim Youth in multicultural area at Saiburi, Pattani 2) to study the attitudes of civil society toward the identity expression of Malayu youth in Pattani; The Case of Expression in Malayu Identity of Muslim Youth in multicultural area at Pattani 3) to suggest the expression of Muslim youth's Malayu identity to various sectors to create understanding and promote coexistence in a multicultural society. The qualitative research method is applied in this study, using semi-structured interviews with selected criteria for interviewees based on juvenile and civil society participation in the event. The key informant is the event's participant, event’s leaders, researching documents and related research to synthesize, analyze, find results and provide suggestions. The research revealed that some participants in the activities received news by word of mouth from their seniors, friends, electronic media, and social media platforms. As for coordination with local people, we found that most of the youth thought the event was a Hari Raya celebration that gathers village people and district people to travel to an event’s venue. The purpose of the organizer is to promote the understanding of Malayu’s Identity to both younger participant’s and the government. The event was held at Wasukri Beach, Sai Buri District, Pattani Province because it was safe and convenient to obtain permission to facilitate an event. The identities that were expressed include authentic Malayu dress, Panchak Silat performance and the oath of allegiance. Those activities were aimed to value the Malayu culture and cherish the motherland among the younger generation that was born into Malayu and believe that youth is the hope of peace. Therefore, it is considered a peaceful way to explain the identity of Thai’s Malayu. This study provided policy proposal to help establish law and regulation that the governor must willing to support their lifestyle and Muslim identity including being truthful, continue resolve the problem or issue occurs, non-enforcement to apply monoculturalism, leader keeps resolving problem regularly and support activity for children and youth in the area - การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทัศนคติในการแสดงอัตลักษณ์มลายูของเยาวชนมุสลิมในพื้นที่จังหวัดปัตตานี กรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่ พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี 2) เพื่อศึกษาทัศนคติของภาคประชาสังคมที่มีต่อการแสดงออกในอัตลักษณ์ของเยาวชนมลายูในพื้นที่จังหวัดปัตตานี กรณีการแสดงออกในอัตลักษณ์มลายูของ กลุ่มเยาวชนมุสลิมในพื้นที่พหุวัฒนธรรมสายบุรี จังหวัดปัตตานี 3) เพื่อเสนอแนะการแสดงออกใน อัตลักษณ์มลายูของกลุ่มเยาวชนมุสลิมต่อภาคส่วนต่าง ๆ ในการสร้างความเข้าใจและส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในพื้นที่สังคมพหุวัฒนธรรม การศึกษานี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล เลือกจากเยาวชนและภาคประชาสังคมที่เข้าร่วมในกิจกรรมครั้งนั้น มีผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนแกนนำในสถานศึกษา ภาคประชาสังคม และศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อ สังเคราะห์ วิเคราะห์ หาข้อสรุป และเสนอแนะ ผลการวิจัย พบว่าเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมส่วนหนึ่งรับรู้ข่าวสารจากการบอกต่อ จากการชักชวนของรุ่นพี่ เพื่อน ๆ จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแอพพลิเคชั่นต่างๆ มีการประสานงานไปยังคนที่รู้จักในพื้นที่ พบว่า เยาวชนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นการเฉลิมฉลองในเทศการอารีรายอ โดยมีการรวมตัวในหมู่บ้านและอำเภอแล้วเคลื่อนตัวไปยังสถานที่จัดงาน ผู้จัดงานต้องการให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจอัตลักษณ์ของตนเองและต้องการให้ภาครัฐเข้าใจในอัตลักษณ์มลายู เหตุที่จัดที่หาดวาสุกรี อำเภอสายบุรี เพราะมีความปลอดภัย ได้รับอนุญาตจากผู้นำในท้องถิ่น อัตลักษณ์ที่ต้องการให้แสดงออก การแต่งกายชุดมลายูที่ถูกต้อง มีการแสดงปันจักสีลัต และการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณ ทั้งนี้เพื่อต้องการให้เยาวชนรักและหวงแหนในแผ่นดินเกิด ถือกำเนิดในความเป็นมลายู และเชื่อว่าเยาวชนคือความหวังของสันติภาพที่ต้องการอธิบายความเป็นตัวตนคนไทยเชื้อสายมลายู การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายและการออกกฎหมายนั้น ภาครัฐจะต้องเอื้อต่อวิถีชีวิต และอัตลักษณ์ความเป็นมลายูมุสลิม รวมทั้งควรต้องจริงใจและแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง ไม่บังคับใช้วัฒนธรรมเชิงเดียว มีความต่อเนื่องของผู้นำในการแก้ปัญหา รวมถึงการส่งเสริมกิจกรรมให้เด็กและเยาวชน ในพื้นที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมให้มากยิ่งขั้น 2023-04-27T04:04:26Z 2023-04-27T04:04:26Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18109 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์