องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18222 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18222 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
juvenile economic fish trawl fisheries ลูกปลาเศรษฐกิจ ประมงอวนลาก |
spellingShingle |
juvenile economic fish trawl fisheries ลูกปลาเศรษฐกิจ ประมงอวนลาก เฉลิมชนม์ โปซิว องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2566 |
author2 |
สมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ |
author_facet |
สมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ เฉลิมชนม์ โปซิว |
format |
Theses and Dissertations |
author |
เฉลิมชนม์ โปซิว |
author_sort |
เฉลิมชนม์ โปซิว |
title |
องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
title_short |
องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
title_full |
องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
title_fullStr |
องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
title_full_unstemmed |
องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
title_sort |
องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18222 |
_version_ |
1781416874371710976 |
spelling |
th-psu.2016-182222023-10-16T03:38:30Z องค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและความสูญเสียทางการเงินจากการใช้ลูกปลาเศรษฐกิจโดยประมงอวนลากในจังหวัดสงขลา Species Composition of Trash Fish and Financial Losses from Utilization of Juvenile Economic Fish by Trawl Fisheries, Songkhla Province เฉลิมชนม์ โปซิว สมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ Faculty of Natural Resources (Aquatic Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาวาริชศาสตร์ juvenile economic fish trawl fisheries ลูกปลาเศรษฐกิจ ประมงอวนลาก วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2566 Trawl fisheries are indiscriminately catching any size of marine animals, juvenile fish included, which are not fully mature and do not have high economic value, leading to financial loss. This is the origin of the study of the species composition of trash fish and financial losses from the utilization of juvenile economic fish by medium size (14-18 m length) trawl fisheries landed at Songkhla Fishing Port to obtain preliminary data for planning for efficient and sustainable fishery resource utilization. Samples were collected during July and December 2013 from 14 fishing trawl vessels. The samples before classification weighed 50.740 kg. After classification, identifiable trash fish, unclassifiable fish and garbage (including shells, shrimp shells, rocks, corals, sea fans, and sponges) weighed 26.844, 15.938 and 7.958 kg, respectively. From all classifications of trash fish, 36 families composing of 69 species (44 species of real trash fish and 25 species of juvenile economic fish) were found. The three most abundant fish were Photolateralis stercorarius, Nuchequula gerreoides and Karalla daura, respectively. In terms of financial losses caused by the use of juvenile economic fish in the form of trash fish, the pair-trawl group had on average more financial losses than the otter board trawl group. The average financial loss of pair-trawl vessels was 240,650 baht per vessel per trip. The average financial loss of the otter board trawl group was 208,236.47 baht per vessel per trip. If considering monthly, September was the month with the highest financial loss, worth 1,791,796.69 baht and the least month was July, worth 45,969.95 baht. Therefore, if juvenile economic fish grow, growth will create added value. Thus it should find ways to reduce financial losses, such as seriously enforcing relevant fishing laws and research to find raw materials for animal feed to replace fishmeal leading to reduce the amount of fish caught. เรือประมงอวนลากเป็นอุปกรณ์ประมงที่จับสัตว์น้ำไม่เลือกขนาด มีผลให้จับได้สัตว์น้ำที่ถูกพลอยจับซึ่งเป็นสัตว์น้ำที่ยังโตไม่เต็มที่ ไม่ได้ขนาดที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ทำให้เกิดการสูญเสียทางการเงิน เป็นที่มาของการศึกษาองค์ประกอบชนิดของปลาเป็ดและประเมินความสูญเสียทางการเงินที่เกิดจากการใช้ปลาที่ไม่ได้ขนาดของเรืออวนลากขนาดกลาง (ความยาวเรือ 14 - 18 เมตร) ที่เข้าเทียบท่าเรือประมงสงขลา เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนการใช้ทรัพยากรประมงให้เกิดประสิทธิภาพและสามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน เก็บตัวอย่างในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2556 จากเรือประมงอวนลากจำนวน 14 ลำ ตัวอย่างก่อนจำแนกมีน้ำหนักรวม 50.740 กิโลกรัม หลังจากจำแนก พบปลาเป็ดที่สามารถจำแนกชนิดได้หนัก 26.844 กิโลกรัม เศษปลาที่ไม่สามารถจำแนกได้ 15.938 กิโลกรัม เศษขยะ (รวมเปลือกหอย เปลือกกุ้ง ก้อนหิน ปะการัง กัลปังหา และฟองน้ำ) หนัก 7.958 กิโลกรัม จากการจำแนกชนิดของปลาเป็ดทั้งหมด พบปลาเป็ด 36 วงศ์ (Family) 69 ชนิด (Species) เป็นปลาเป็ดแท้ 44 ชนิด และลูกปลาเศรษฐกิจ 25 ชนิด ชนิดปลาที่พบจำนวนชนิดมากที่สุด 3 อันดับแรกคือปลาแป้นยาว (Photolateralis stercorarius) ปลาแป้นจมูกสั้น (Nuchequula gerreoides) และปลาแป้นกระโดงดำ (Karalla daura) ในด้านความสูญเสียทางการเงินที่เกิดจากการนำสัตว์น้ำวัยอ่อนมาใช้ประโยชน์ในรูปปลาเป็ด กลุ่มเรืออวนลากคู่มีความสูญเสียทางการเงินเฉลี่ยมากกว่ากลุ่มเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ โดยเรืออวนลากคู่มีความสูญเสียทางการเงินเฉลี่ย 240,650 บาทต่อลำต่อเที่ยว กลุ่มเรืออวนลากแผ่นตะเฆ่มีความสูญเสียทางการเงินเฉลี่ย 208,236.47 บาทต่อลำต่อเที่ยว หากพิจารณารายเดือน พบว่าเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีความสูญเสียทางการเงินสูงสุด (1,791,796.69 บาท) และเดือนที่น้อยที่สุดคือเดือนกรกฎาคม (45,969.95 บาท) หากปล่อยให้ลูกปลาเศรษฐกิจเจริญเติบโตจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้สูงขึ้นได้ จึงควรหาแนวทางในการลดมูลค่าความสูญเสียทางการเงิน เช่น การบังคับใช้กฎหมายประมงที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง และการวิจัยเพื่อหาวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ใช้ทดแทนปลาป่น เพื่อลดปริมาณการจับปลาเป็ด 2023-10-16T03:34:47Z 2023-10-16T03:34:47Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18222 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |