กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย), 2566

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์
Other Authors: เชิดชัย อุดมพันธ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18240
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-18240
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การกลายเป็นคำไวยากรณ์
คำกริยา
คำสันธาน
spellingShingle การกลายเป็นคำไวยากรณ์
คำกริยา
คำสันธาน
ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์
กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
description ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย), 2566
author2 เชิดชัย อุดมพันธ์
author_facet เชิดชัย อุดมพันธ์
ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์
format Theses and Dissertations
author ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์
author_sort ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์
title กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
title_short กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
title_full กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
title_fullStr กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
title_full_unstemmed กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
title_sort กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18240
_version_ 1781416877814185984
spelling th-psu.2016-182402023-10-16T08:40:06Z กระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทย Grammaticalization of Verbs into Conjunctions in the Thai Language ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์ เชิดชัย อุดมพันธ์ Faculty of Humanities and Social Sciences (Thai) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย การกลายเป็นคำไวยากรณ์ คำกริยา คำสันธาน ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย), 2566 The research examined grammaticalization of verbs into conjunctions with 25 words under investigation. These words included /klàp/,/kwà:/, /kǝ:t/,/khu:n/, /klá:j/,/khu://cōn/, /sám/, /trōŋ/, /tò:/, /tā:m/, /thun/, /the:m/, /thâw/, /phua/, /phɔ̃:/, /lōŋ/, /lɔ̃:ŋ/, /lǝ:j/, /lē:/, /lé:w/, /jāŋ/, /wáj/, /muan/ and /hâj/, all of which were in the historical Thai from Sukhothai Period until B.E. 2560. The data could be classified into 3 periods. In this study, these 25 words, which were conjunctions but appeared in the forms of verbs, were studied in terms of their functions and meanings, and their grammaticalizations from the verbs into the conjunctions would accordingly be explained with regard to their syntactic and semantic features. The assumptions underlying the study was twofold: the conjunctions in the forms of verbs used nowadays had different functions and meanings from those in other periods, and the syntactic and semantic changes on such conjunctions were in accordance with the grammaticalization concept. The findings revealed that in each period the 25 words performed the following 5 functions: verbs, words preceding verbs, words following verbs, prepositions and conjunctions. Regarding the semantic changes, it was found that /kwà:/ has completely been grammaticalized. The word was a peripheral verb since the Sukhothai Period which was considered the first period, and it has been both a peripheral conjunction and the peripheral verb in every period. Nevertheless, there have been the words incompletely grammaticalized: less of them became verbs while more of them increasingly became conjunctions. These words were /klap/, /kǝ:t/, /khu:n/,/klá:j/,/khu:/,/cōn/,/sám/, /trōŋ/,/tò:/, /tā:m/,/thuăŋ/,/thĔ:m/,/thâw/,/phua/, /phɔ̃://lōŋ/, /l5:ŋ/, /lɔ̃:j/, /lē:/, /lé:w/, /jāŋ/,/wáj/, /muan/ and /hâj/. Notably, these have been through a continuous development, and their functions as the conjunctions increased and also decreased in some periods. Regarding the features of verb meanings, it showed that the meanings of some verbs were expanded. They could be categorized into 2 groups. The first group comprised action verbs /klàp/, /tā:m/,/thun/and/lōn/.These had the semantic feature in the second step, namely [+motion], and later had the semantic feature in the second step, namely [+motion] and [-motion]. The second group consisted of a state verb /trōn/which had the semantic feature in the second step, namely [+feature], and later had the semantic feature in the second step, namely [feature] and [+place]. The verb could also be an action verb with the semantic feature in the second step, namely [+motion]. Concerning the features of conjunction meanings, the meanings of 5 words were found to be expanded. The first word /kwà:/ was a conjunction of time, and subsequently it was also a conjunction of a comparative conflict and a conjunction of a comparison. The second word /to:/ was a conjunction of condition, and later it was also a conjunction of cause indicating a conflict consequence. The third word /thâw/ was a conjunction indicating the end of time, and later it was also a conjunction indicating a comparison. The fourth word/phɔ̃:/ was a conjunction of time, and later it was also a conjunction indicating objectives. The last word /lé:w/ was a conjunction indicating a subsequent time and also a subsequent time to specifically add more content. This word was later expanded to cover an indication of a subsequent time showing consequences, a subsequent time that was contrary to what should have been, and a subsequent time to add more content which was contrary to what should have been. Moreover, there was one word whose meaning was tightened. The word was /jāŋ/. It was a conjunction expressing a contrary to what should have been, a comparative conflict, and content addition. However, its meaning was later tightened: its use for indicating the comparative conflict was omitted. Pertaining to the grammaticalization of the words being researched, this revealed that they have been processed through a syntactic mechanism: reanalysis and analogy through semantic changes in the forms of metaphor and metonymy. These resulted in the following linguistic changes: 1) generalization, 2) decategorization, 3) specialization, 4) divergence and 5) renewal. The grammaticalization trend was found to be in a linear and gradual manner. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาในภาษาไทยจำนวน 25 คำ ได้แก่ คำว่า กลับ กว่า เกิด ขืน คล้าย คือ จน ซ้ำ ตรง ต่อ ตาม ถึง แถม เท่า เผื่อ พอ ลง ลอง เลย แล แล้ว ยัง ไว้ เหมือน และ ให้ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบันปีพุทธศักราช 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหน้าที่และความหมายของคำสันธาน ที่มีรูปเดียวกับคำกริยาจำนวน 25 คำ และเพื่ออธิบายกระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำกริยาทางด้านวากยสัมพันธ์และความหมาย ทั้งนี้ผู้วิจัยมีสมมติฐานว่าคำสันธานที่มีรูปเดียวกับคำกริยาในสมัยปัจจุบันทำหน้าที่และมีความหมายแตกต่างกันในภาษาไทยแต่ละสมัย และการเปลี่ยนแปลงทางวากยสัมพันธ์และความหมายของคำสันธานที่มีรูปเดียวกับคำกริยาสอดคล้องกับแนวคิดการกลายเป็นคำไวยากรณ์ ผลการศึกษาพบว่า ในแต่ละสมัยคำจำนวน 25 คำ ปรากฏหน้าที่ได้ 5 หน้าที่ ได้แก่ คำกริยา คำหน้ากริยา คำหลังกริยา คำบุพบท และคำสันธาน การเปลี่ยนแปลงทางความหมาย พบคำที่มีการกลายเป็นคำไวยากรณ์สมบูรณ์แล้ว ได้แก่ คำว่า กว่า โดยปรากฏเป็นคำกริยารอบนอกตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในขณะที่ปรากฏเป็นคำสันธานรอบนอกและคำหลังกริยารอบนอกในทุกสมัย คำที่มีการกลายเป็นคำไวยากรณ์ยังไม่สมบูรณ์โดยปรากฏเป็นคำกริยาลดลงในขณะที่เป็นคำสันธานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ กลับ เกิด ขืน คล้าย คือ จน ซ้ำ ตรง ต่อ ตาม ถึง แถม เท่า เผื่อ พอ ยัง ลง ลอง เลย แล แล้ว ไว้ เหมือน ให้ โดยมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากความถี่ ในปรากฏเป็นคำสันธานสูงขึ้นและลดลงบางสมัย ลักษณะทางความหมายของคำกริยาพบว่าคำกริยาจำนวนหนึ่งมีความหมายเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะมีความหมายกว้างขึ้น แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเป็นคำกริยา แสดงการกระทำ มีอรรถลักษณ์ขั้นที่ 2 คือ [+เคลื่อนที่] ต่อมา มีอรรถลักษณขั้นที่ 2 เป็น [+เคลื่อนที่] และ [-เคลื่อนที่] ได้แก่ คำว่า กลับ ตาม ถึง ลง กลุ่มที่ 2 เป็นคำกริยาแสดงสภาพที่มีอรรถลักษณ์ขั้นที่ 2 เป็น [+ลักษณะ] ต่อมา มีอรรถลักษณ์ขั้นที่ 2 เป็น [+ลักษณะ] และ [+สถานที่] แล้วยังเป็นคำกริยาแสดงการกระทำ มีอรรถลักษณขั้นที่ 2 เป็น [+เคลื่อนที่] อีกด้วย ได้แก่ คำว่า ตรง นอกจากนี้ลักษณะทางความหมายของคำสันธานยังมีการเปลี่ยนแปลงความหมาย ในลักษณะกว้างออก จำนวน 5 คำ ได้แก่ คำว่า กว่า เป็นสันธานบอกเวลาก่อนต่อมาขยายไป บอกการเปรียบเทียบ และบอกความขัดแย้งเชิงเปรียบเทียบ คำว่า ต่อ เป็นสันธานบอกเงื่อนไข ต่อมาขยายไปบอกสาเหตุที่แสดงผลขัดแย้ง คำว่า เท่า เป็นคำสันธานบอกเวลาสิ้นสุด ต่อมาขยายไป บอกการเปรียบเทียบ คำว่า พอ เป็นคำสันธานบอกเวลาก่อน ต่อมาขยายความหมายไป บอกวัตถุประสงค์ คำว่า แล้ว เป็นสันธานบอกเวลาภายหลัง และบอกเวลาภายหลังเพื่อเพิ่มความ ต่อมาขยายไปบอกเวลาภายหลังอันเป็นผล บอกเวลาภายหลังซึ่งขัดแย้งกับที่ควรเป็น และบอกเวลาภายหลังเพื่อเพิ่มความซึ่งขัดแย้งกับที่ควรเป็น และยังพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงความหมาย ในลักษณะแคบเข้า จำนวน 1 คำ ได้แก่ คำว่า ยัง ปรากฏเป็นคำสันธานบอกความขัดแย้งเชิงตรงข้ามกับที่ควรจะเป็น บอกความยัดแย้งเชิงเปรียบเทียบ และบอกการเสริมความ ต่อมามีความหมายแคบเข้า โดยไม่ปรากฏการบอกความขัดแย้งเชิงเปรียบเทียบ กระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์ของคำที่ศึกษาพบว่า ผ่านกลไกทางวากยสัมพันธ์ คือ การวิเคราะห์ใหม่และการเทียบแบบ ผ่านการเปลี่ยนแปลงทางความหมาย คือ การอุปลักษณ์และการนามนัย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษา ดังนี้ (1) การทำให้มีความหมายทั่วไป (2) การสูญคุณสมบัติของหมวดคำ (3) การเจาะจงเลือก (4) กระบวนการแยก และ (5) การนำมาใช้ใหม่ ส่วนทิศทางการกลายเป็นคำไวยากรณ์เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบทิศทางเดียวและค่อยเป็นค่อยไป 2023-10-16T08:37:06Z 2023-10-16T08:37:06Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18240 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์