การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ฟิสิกส์ประยุกต์), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18247 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18247 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ก๊าซเรดอน แผ่นดินไหว เทคนิคหัววัดรอยนิวเคลียร์ชนิดของแข็ง แผ่นฟิล์ม CR-39 |
spellingShingle |
ก๊าซเรดอน แผ่นดินไหว เทคนิคหัววัดรอยนิวเคลียร์ชนิดของแข็ง แผ่นฟิล์ม CR-39 ถิรวิทย์ คงสอนหมาน การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ฟิสิกส์ประยุกต์), 2566 |
author2 |
สุนารี บดีพงศ์ |
author_facet |
สุนารี บดีพงศ์ ถิรวิทย์ คงสอนหมาน |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ถิรวิทย์ คงสอนหมาน |
author_sort |
ถิรวิทย์ คงสอนหมาน |
title |
การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
title_short |
การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
title_full |
การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
title_fullStr |
การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
title_full_unstemmed |
การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
title_sort |
การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18247 |
_version_ |
1781416879118614528 |
spelling |
th-psu.2016-182472023-10-17T07:22:52Z การทำนายการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง โดยวิเคราะห์ปริมาณก๊าซเรดอนที่เปลี่ยนแปลง Prediction of Earthquakes at the Ranong Fault, Ranong Province by Analyzing the Amount of Radon Gas Changed ถิรวิทย์ คงสอนหมาน สุนารี บดีพงศ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ Faculty of Science and Technology (Science programs) ก๊าซเรดอน แผ่นดินไหว เทคนิคหัววัดรอยนิวเคลียร์ชนิดของแข็ง แผ่นฟิล์ม CR-39 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ฟิสิกส์ประยุกต์), 2566 An earthquake is a natural phenomenon that indicates the Earth isn’t equilibrium. Due to the enormous pressure that has accumulated under the tectonic plates causing the release of energy in the form of seismic waves. As a result, various building structures are damaged or collapsed. including people's lives. Most of them occur in areas of active fault pass through in the area. In this area, radon is formed due to the movement of tectonic plates. The sudden increase or decrease in radon is usually a phenomenon that occurs before an earthquake.The purpose of this research was to analyze radon changes at 10 locations and 2 reference locations on Ranong fault, Ranong province (the length of this fault is 20.65 km). Due to this fault passes through in the community area, it’s interesting to do research in this area. The radon concentration was measured using the Solid State Nuclear Track Detectors (SSNTD, CR39). To analyze radon gas changes and seismic data at the Ranong Fault, Ranong province and nearby areas during the past 5 years from the earthquake data of the Thai Meteorological Department database. and continuing in the future for at least 1 year. The results showed that radon gas concentrations were measured in the area, or near the fault line more than other stations. There were 3 earthquakes in the Ranong fault group on January 26, 2020 in the area of Takua Pa, Phang Nga, 2 times with magnitude 2.1 and 2.2 respectively and on February 6, 2020 and in the area of Bang Saphan, Prachuap Khiri Khan, 1 time, magnitude 2.8 by the concentration of radon gas measured at every station in the 1st time. It was found that the radon gas concentration at all stations is high and will decrease during the next measurement. In summary, the changed in radon gas concentration is related to the measured earthquakes. It can also be identified that RNF2 and RNF8 stations have the potential to be used to warn of future earthquakes caused by the Ranong Fault because these two stations measure the concentration of radon gas higher than other stations. and Background stations 2 to 5 times and are located near the Ranong fault line. แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่บ่งบอกว่าโลกยังไม่อยู่ในสภาวะสมดุล เนื่องจากความกดดันมหาศาลที่สะสมภายใต้แผ่นเปลือกโลก ทำให้เกิดการปล่อยพลังงานออกมาใน รูปคลื่นแผ่นดินไหว ส่งผลให้โครงสร้างอาคารต่าง ๆ ได้รับความเสียหายหรือพังทลาย รวมถึงชีวิตของ ผู้คน ส่วนใหญ่เกิดในบริเวณรอยเลื่อนมีพลังพาดผ่านในพื้นที่ และในบริเวณนี้จะมีการแพร่ของก๊าซ เรดอนขึ้นมาอันเนื่องมาจากการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของก๊าซเรดอน อย่างฉับพลัน เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนเกิดแผ่นดินไหว งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงของก๊าซเรดอนบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนอง 10 ตำแหน่งและบริเวณ ตำแหน่งอ้างอิง 2 ตำแหน่ง (ความยาวรอยเลื่อนเส้นนี้ 20.65 km) เนื่องจากบริเวณนี้รอยเลื่อนระนอง พาดผ่านในพื้นที่ชุมชนจึงมีความน่าสนใจในการทำวิจัย โดยตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของก๊าซ เรดอนด้วยเทคนิคหัววัดรอยนิวเคลียร์ชนิดของแข็ง ชนิดแผ่นฟิล์ม CR-39 เพื่อวิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลงของก๊าซเรดอนและข้อมูลการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณรอยเลื่อนระนอง จังหวัดระนองและ บริเวณใกล้เคียง ในช่วง 5 ปีย้อนหลังจากฐานข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา (Seismograph) และ ต่อเนื่องไปในอนาคตอีกอย่างน้อย 1 ปีผลการศึกษาพบว่า บริเวณที่มีรอยเลื่อนพาดผ่านในพื้นที่หรือ อยู่ใกล้แนวรอยเลื่อนจะตรวจวัดความเข้มข้นของก๊าซเรดอนได้สูงกว่าสถานีอื่น ในช่วงทำการวิจัยใน ครั้งที่ 1 พบข้อมูลแผ่นดินไหวในกลุ่มรอยเลื่อนระนองทั้งหมด 3 ครั้ง ในพื้นที่อำเภอตะกั่วป่า จังหวัด พังงา จำนวน 2 ครั้ง ขนาด 2.1 และ 2.2 ตามลำดับ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 และในพื้นที่ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 1 ครั้ง ขนาด 2.8 โดยความเข้มข้นของก๊าซเรดอน ที่ตรวจวัดได้ทุกสถานี ในครั้งที่ 1 พบว่า มีความเข้มข้นของก๊าซเรดอนสูงในทุกสถานี และลดลงในครั้ง ถัดไปที่ทำการตรวจวัด สรุปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของก๊าซเรดอนมีความสัมพันธ์กับ แผ่นดินไหนที่ตรวจวัดได้และระบุได้ว่าสถานี RNF2 และสถานี RNF8 เป็นสถานีที่มีศักยภาพที่จะใช้ เตือนภัยการเกิดแผ่นดินไหวที่จะเกิดจากแนวรอยเลื่อนระนองในอนาคตได้ เนื่องจาก 2 สถานีนี้ ตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของก๊าซเรดอนได้สูงกว่าสถานีอื่นและ สถานี Background 2 ถึง 5 เท่า และอยู่ใกล้ในแนวรอยเลื่อนระนอง 2023-10-17T07:20:07Z 2023-10-17T07:20:07Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18247 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |