ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18250 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18250 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ปูม้าไข่นอกกระดอง ธนาคารปู ประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ |
spellingShingle |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ปูม้าไข่นอกกระดอง ธนาคารปู ประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ วชิราภรณ์ มณีแสง ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2566 |
author2 |
พรพิมล เชื้อดวงผุย |
author_facet |
พรพิมล เชื้อดวงผุย วชิราภรณ์ มณีแสง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วชิราภรณ์ มณีแสง |
author_sort |
วชิราภรณ์ มณีแสง |
title |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
title_short |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
title_full |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
title_fullStr |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
title_full_unstemmed |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
title_sort |
ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18250 |
_version_ |
1781416879738322944 |
spelling |
th-psu.2016-182502023-10-17T08:23:01Z ความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปูม้า: กรณีศึกษาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา Fecundity, Hatching Rate, Relationship between Carapace Width and Body Weight of Gravid Female Blue Swimming Crab (Portunus pelagicus) and Guidelines for Crab Bank Management: Case Study of Crab Bank Sup-Anan Local Fisheries Group, Singhanakhon District, Songkhla Province วชิราภรณ์ มณีแสง พรพิมล เชื้อดวงผุย Faculty of Natural Resources (Aquatic Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาวาริชศาสตร์ ความดกไข่ อัตราการฟัก ปูม้าไข่นอกกระดอง ธนาคารปู ประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วาริชศาสตร์), 2566 Study on fecundity, hatching rate, relationship between carapace width and body weight of gravid female blue swimming crab and managing guidelines of crab bank Sup-Anan Local Fisheries Group, Singhanakhon District, Songkhla Province conducted in two parts; Part 1 study on fecundity, hatching rate and relationship between carapace width and body weight of gravid female blue swimming crab; outer carapace width and carapace length were measured; while body weight of gravid female blue swimming crab with different colors of eggs which were collected from the crab bank Sup-Anan Local Fisheries Group were weighed. Data of crab sample (300 pcs.) were collected and recorded throughout 12 months and analyzed by the SPSS 23 program. From the study results, the outer carapace width, the carapace length, body weight and egg weight were in the range of 7.02-26.80 cm, 5.13-8.20 cm, 104.60-458.80 grams and 14.64-109.00 grams, respectively. As the fecundity was in the range of 218,880-2,906,833 eggs and the hatching rate was in the range of 10.53-97.88 %. The analysis of relationship between outer carapace width and body weight showed that there was significantly correlation, the equation was BW = 7.335*OCW1.344 (R2 = 0.463). Part 2 study on operating guidelines of crab bank Sup-Anan Local Fisheries Group; data was collected through in-depth interviews with stakeholders i.e. crab bank chairman, crab bank members, crab sellers, crab buyers and relevant government and private agencies and using Participatory Rural Appraisal (PRA) as a tool for qualitative research. Data was analyzed by using typological analysis, SWOT analysis of environment and potential and TOWS analysis of strategic objectives. The study showed that crab bank Sup-Anan Local Fisheries Group was established in 2010 by grouping of local fishermen. The practice was conducted by taking gravid female crabs to incubate in tanks for hatching to be first larval crabs and releasing them back to the sea. SWOT and TOWS analysis were used to propose guidelines for the development of crab banks as following 1) Development of learning centers and eco-tourism sites 2) Enhancing knowledge of crab bank members about blue swimming crabs and increasing communication and public relations channels 3) Encouraging new generations in the community to take part in the crab bank activities and 4) Establishing cooperation with various agencies to support the budget for the crab bank 's operations. ศึกษาความดกไข่ อัตราการฟัก ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง และแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ดำเนินการใน 2 ส่วน ส่วนที่ 1 การศึกษาความดกไข่ อัตราการฟัก และความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองกับน้ำหนักตัวของปูม้าไข่นอกกระดอง วัดความกว้างกระดองด้านนอก ความยาวกระดองและชั่งน้ำหนักตัวปูม้าที่มีไข่นอกกระดองสีต่าง ๆ (สีส้ม-เหลือง สีน้ำตาล สีเทา และสีดำ) ที่รวบรวมจากธนาคารปู ดำเนินการเก็บและบันทึกข้อมูลตัวอย่างปู 300 ตัว ในระยะเวลา 12 เดือนและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS 23 ผลการศึกษาพบว่าปูม้าไข่นอกกระดองมีขนาดความกว้างกระดองด้านนอก ความยาวกระดอง น้ำหนักตัวปู และน้ำหนักไข่ปูอยู่ในช่วง 7.02-26.80 เซนติเมตร 5.13-8.20 เซนติเมตร 104.60-458.80 กรัม และ 14.64-109.00 กรัม ตามลำดับ มีความดกไข่อยู่ในช่วง 218,880-2,906,833 ฟอง และมีอัตราการฟักไข่อยู่ในช่วง 10.53-97.88 เปอร์เซ็นต์ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างกระดองด้านนอกกับน้ำหนักตัวพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ โดยมีสมการคือ BW=7.335*OCW1.344 (R2=0.463) ส่วนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ประธานธนาคารปู สมาชิกธนาคารปู ผู้จำหน่ายปู ผู้รับซื้อปู และหน่วยงานรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง) ใช้เครื่องมือวิจัยเชิงคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจำแนกชนิดข้อมูล การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT) และการวิเคราะห์วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (TOWS) ผลการศึกษาพบว่าการดำเนินงานธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2553 โดยการรวมกลุ่มกันของชาวประมงพื้นบ้าน นำแม่ปูที่มีไข่นอกกระดองมาฟักไข่ เพื่อฟักออกเป็นลูกปูวัยอ่อนและปล่อยคืนกลับสู่ทะเล ผลการวิเคราะห์สามารถเสนอแนวทางในการพัฒนาธนาคารปู กลุ่มประมงพื้นบ้านทรัพย์อนันต์ ดังนี้ 1) พัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้และสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 2) เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านปูม้าให้กับสมาชิกธนาคารปูและเพิ่มช่องทางการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ 3) กระตุ้นให้คนรุ่นใหม่ในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมธนาคารปูม้า และ 4) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการดำเนินงานของธนาคารปู 2023-10-17T08:22:39Z 2023-10-17T08:22:39Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18250 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |