ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2566
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18256 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18256 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ บุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด พฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด |
spellingShingle |
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ บุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด พฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ฑีรณุฏฐ์ ไวศยารัทธ์ ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
description |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2566 |
author2 |
อุมาพร ปุญญโสพรรณ |
author_facet |
อุมาพร ปุญญโสพรรณ ฑีรณุฏฐ์ ไวศยารัทธ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ฑีรณุฏฐ์ ไวศยารัทธ์ |
author_sort |
ฑีรณุฏฐ์ ไวศยารัทธ์ |
title |
ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
title_short |
ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
title_full |
ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
title_sort |
ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18256 |
_version_ |
1781416880851910656 |
spelling |
th-psu.2016-182562023-10-17T08:54:50Z ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด Effect of Health Literacy Promotion Program on Cardiovascular Preventive Behaviors Among Persons with High Risk of Cardiovascular Disease ฑีรณุฏฐ์ ไวศยารัทธ์ อุมาพร ปุญญโสพรรณ Faculty of Nursing (Public Health Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ บุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด พฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน), 2566 This quasi-experimental research aimed to examine the effect of a health literacy promotion program on cardiovascular preventive behaviors among persons with high risk of cardiovascular disease. The sample consisted of 62 high-risk persons with cardiovascular disease, divided into a control group and an experimental group, each of 31 subjects selected by purposive sampling. The experimental group received a health literacy promotion program for 8 weeks and the control group received routine nursing care. The health literacy promotion program was developed by employing Nutbeam's health literacy theory in cooperation with the practice of 6 skills of health literacy comprising 1) cognition, 2) access, 3) communication skill, 4) self-management, 5) media literacy, and 6) decision skill. The tools used for data collection were the general information questionnaire and the cardiovascular preventive behavior questionnaire. The scale-level content validity index of the cardiovascular preventive behavior questionnaire validated by three experts was 0.96. Reliability was tested and yielded a Cronbach’s alpha coefficient of 0.80. Data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test. The results revealed that: The mean score of cardiovascular preventive behaviors of the experimental group after receiving health literacy promotion program was statistically significantly higher than that of the control group (t = 9.74, p < .05) and the mean score of cardiovascular preventive behaviors of the experimental group after receiving of health literacy promotion program was statistically significantly higher than that before receiving the program (t = 24.86,p < .05) This research demonstrates that health literacy promotion program can encourage individuals at high risk of cardiovascular disease to adopt preventive cardiovascular behaviors to reduce the risk of developing cardiovascular disease in the future การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดของบุคคลที่มีความ เสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดจำนวน 62 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 31 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้าน สุขภาพเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติโปรแกรมการส่งเสริมความ รอบรู้ด้านสุขภาพพัฒนาขึ้นโดยการประยุกต์ทฤษฎีความรอบรู้ด้านสุขภาพของนัทบีม ผ่านการฝึก 6 ทักษะของความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประกอบด้วย 1) ความรู้ความเข้าใจ, 2) การเข้าถึงข้อมูลและ บริการสุขภาพ, 3) ทักษะการสื่อสาร, 4) การจัดการตนเอง, 5) การรู้เท่าทันสื่อ, และ 6) การตัดสินใจ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการ ป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ได้ค่าความตรงด้านเนื้อหา 0.96. และทดสอบความเที่ยงโดยการคำนวณหาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอน บาคได้ 0.80. วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติไคแสควร์ เปรียบเทียบคะแนน เฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยสถิติทีคู่ (paired t-test) และสถิติทีอิสระ (independent t-test) ผลการศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด ของบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการ ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (t = 9.74, p < .05) และคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มทดลอง หลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ(t = 24.86, p < .05) การวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถส่งเสริมให้บุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดปฏิบัติพฤติกรรม ป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต 2023-10-17T08:54:31Z 2023-10-17T08:54:31Z 2023 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18256 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |