การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2565
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18984 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-18984 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
บาซิลลัส สารควบคุมทางชีวภาพ ยับยั้งราก่อโรค ดินป่าชายเลน โรคเกิดจากเชื้อราในพืช |
spellingShingle |
บาซิลลัส สารควบคุมทางชีวภาพ ยับยั้งราก่อโรค ดินป่าชายเลน โรคเกิดจากเชื้อราในพืช สุธัญญา ใหม่ทอง การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2565 |
author2 |
ปฏิมา เพิ่มพูนพัฒนา |
author_facet |
ปฏิมา เพิ่มพูนพัฒนา สุธัญญา ใหม่ทอง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุธัญญา ใหม่ทอง |
author_sort |
สุธัญญา ใหม่ทอง |
title |
การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
title_short |
การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
title_full |
การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
title_fullStr |
การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
title_full_unstemmed |
การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
title_sort |
การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18984 |
_version_ |
1781416882748784640 |
spelling |
th-psu.2016-189842023-10-24T03:19:48Z การคัดแยกบาซิลลัสจากดินป่าชายเลนที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับยับยั้งราก่อโรคพืช Isolation of Bacillus species from mangrove soil as biocontrol agent against plant pathogenic fungi สุธัญญา ใหม่ทอง ปฏิมา เพิ่มพูนพัฒนา Faculty of Innovative Agriculture and Fisheries (Agricultural Science and Technology) คณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร บาซิลลัส สารควบคุมทางชีวภาพ ยับยั้งราก่อโรค ดินป่าชายเลน โรคเกิดจากเชื้อราในพืช วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2565 Plant diseases are among the most serious threats that cause preharvest and postharvest losses of agricultural products. Therefore, the control of disease is very important. The aim of this study is to isolate Bacillus sp. from mangrove soil that produces biocontrol agent against phytopathogenic fungi under optimal conditions. A biological agent from bacteria has the potential to inhibit plant pathogenic fungi. Out of 98 isolated bacteria from the mangrove soil, 36 isolated bacteria are gram positive bacteria that include rod or bacilli shape. After the biochemical test, it was found that there were only 18 isolated bacteria similar to Bacillus species. All of 18 isolated bacteria were also tested for antifungal activity against F. solani, F. moniliforme, F. proliferatum, P. palmivora and C. gloeosporioides by dual culture method. The results showed that 6 isolated can inhibit fungal pathogens. After the antifungal activity test by using culture filtrate, found that VIMSH06 can inhibit F. solani at 71.622.21%. VIMSH06 was highly similar to Bacillus at the pairwise similarity 99.93%. The appropriate conditions of VIMSH06 for the best inhibition of F. solani was to culture bacteria in Nutrient Broth (NB) pH 7 at 37°C for 21 h. The pH and temperature stability test demonstrated that the active substance in the culture filtrate was stable for at least 20 min at pH 2 to 10 and at 20 to 121°C. The hypha and tip of F. solani showed the abnormality when treated with culture filtrate of VIMSH06 under microscopy. In vivo test, the result revealed that the corn seedling roots were infected with conidia of F. solani and culture filtrate of VIMSH06 can protect the corn seedling from F. solani. Thus, the bacterial isolate VIMSH06 may be applied to a new approach for inhibition of fungal plant pathogens in sustainable agriculture. โรคพืชจัดเป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุด ซึ่งเป็นสาเหตุของความเสียหายก่อน และหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร ดังนั้นการควบคุมโรคจึงสำคัญเป็นอย่างมาก วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อคัดแยก Bacillus sp. จากดินป่าชายเลนที่ผลิตสารควบคุมทางชีวภาพในการต้านราโรคพืช ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม สารควบคุมทางชีวภาพจากแบคทีเรียมีศักยภาพในการยับยั้งราโรคพืช พบแบคทีเรียทั้งหมด 98 ไอโซเลต จากดินป่าชายเลน มีแบคทีเรีย 36 ไอโซเลต เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ประกอบไปด้วยรูปร่างแท่งสั้น หรือ แท่งยาว หลังการทดสอบทางชีวเคมี พบว่ามีแบคทีเรีย 18 ไอโซเลต ที่คล้าย Bacillus sp. นำแบคทีเรียทั้ง 18 ไอโซเลต ไปทดสอบความสามารถในการยับยั้งราก่อโรค F. solani, F. moniliforme, F. proliferatum, P. palmivora และ C. gloeosporioides โดยวิธี Dual culture จากผลการทดลองพบว่า 6 ไอโซเลต สามารถยับยั้งราก่อโรคได้ หลังจากนั้นทดสอบความสามารถในการยับยั้งราก่อโรค โดยใช้ Culture filtrate พบว่า VIMSH06 สามารถยับยั้ง F. solani ได้ 71.622.21 เปอร์เซ็นต์ แบคทีเรีย VIMSH06 มีความคล้ายคลึงกับหลายสปีชีส์ในสกุล Bacillus มากถึง 99.93 เปอร์เซ็นต์ โดยสภาวะที่เหมาะสมของ VIMSH06 สำหรับการยับยั้ง F. solani ได้ดีที่สุด คือ เลี้ยงเชื้อแบคทีเรียใน Nutrient Broth (NB) pH 7 ที่ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 21 ชั่วโมง การทดสอบความเสถียรของ pH และอุณหภูมิ แสดงให้เห็นว่าสารออกฤทธิ์ใน culture filtrate มีความเสถียรเป็นเวลาอย่างน้อย 20 นาที ที่ pH 2 ถึง 10 และที่อุณหภูมิ 20 ถึง 121 องศาเซลเซียส โดยเส้นใย และปลายของรา F. solani แสดงความผิดปกติ เมื่อทดสอบด้วย culture filtrate ของ VIMSH06 ภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน จากการทดสอบยับยั้งราก่อโรคบนพืช แสดงผลให้เห็นว่ารากของต้นกล้าข้าวโพดติดเชื้อจากโคนิเดียของ F. solani และ culture filtrate ของ VIMSH06 สามารถป้องกันต้นกล้าข้าวโพดจาก F. solani ได้ ดังนั้นแบคทีเรียไอโซเลต VIMSH06 อาจนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางใหม่สำหรับการยับยั้งเชื้อราโรคพืชในการเกษตรแบบยั่งยืนได้ 2023-10-24T03:18:19Z 2023-10-24T03:18:19Z 2022 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18984 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |