ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19048 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19048 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
พทาเลทเอสเทอร์ ตะกอน (ธรณีวิทยา) ทะเลสาบสงขลา ปูทะเล ทะเลสาบสงขลา |
spellingShingle |
พทาเลทเอสเทอร์ ตะกอน (ธรณีวิทยา) ทะเลสาบสงขลา ปูทะเล ทะเลสาบสงขลา พันทิวา อินทวงศ์ ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
บรรจง วิทยวีรศักดิ์ |
author_facet |
บรรจง วิทยวีรศักดิ์ พันทิวา อินทวงศ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พันทิวา อินทวงศ์ |
author_sort |
พันทิวา อินทวงศ์ |
title |
ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
title_short |
ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
title_full |
ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
title_fullStr |
ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
title_full_unstemmed |
ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
title_sort |
ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (dehp) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19048 |
_version_ |
1783957343707332608 |
spelling |
th-psu.2016-190482023-11-16T06:35:48Z ปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ ได-(2-เอทธิลเฮ็กซิล) ทาเลต (DEHP) ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสบสงขลาตอนล่าง Contamination of di-(2-ethythexy) phthalate (DEHP) in sediment and mud crabs in Lower Songkhla Lake พันทิวา อินทวงศ์ บรรจง วิทยวีรศักดิ์ Faculty of Environmental Management (Environmental Management) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม พทาเลทเอสเทอร์ ตะกอน (ธรณีวิทยา) ทะเลสาบสงขลา ปูทะเล ทะเลสาบสงขลา วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 Di-(2-ethylhexyl) phthalate (DEHP) is a commonly used chemical in the plasticindustry. It is a harmful substance to the endocrine system, causing reproductive system disorders, and it is also a mutagen. Contamination of DEHP in the environment continuously occurs, especially in industrial wastewater, solid waste landfill and the community effluent. This study investigated the contamination of DEHP accumulated in sediment and mud crabs in lower Songkhla Lake, which received pollutants from branch canals that flow through many sources of pollution, in order to assess the initial risk to health, environment and ecosystems. Analyses of DEHP levels in sediment and crab samples in lower Songkhla lake were conducted using gas chromatography (GC) with a Flame ionization detector (FID). The sampling sites consisted of 8 stations near the mouth of several branch canals, including U-Taphao canal, Samrong canal, Pa-Wong canal, Pak-Ror canal, Pak-Jar canal, Phue Mee canal, and Bang-Klam canal. The average concentrations of DEHP in sediment were 18.53+0.29, 2.29±0.19, 1.87±0.11, 1.01+0.01, 0.72+0.06, 0.56±0.04, 0.52±0.05 and 0.45+0.04 mg/kg OC dry wt., respectively. The average concentrations of DEHP in mud crabs were 0.33±0.02, 0.23±0.02, 0.20±0.01, 0.17±0.01, 0.15 +0.01, 0.13 +0.01, 0.13±0.01 and 0.10+ 0.01 mg/kg dry wt. The mouth of U-Taphao canal had the highest average concentration of DEHP in sediment, but not exceeding the threshold set by the Pollution Control Department (36 mg/kg OC dry wt.). However, mud crab samples from U-Tapao canal had the highest levels of DEHP which exceeded the standard limit set by the Chinese Ministry of Health (0.3 mg/kg dry wt.). Therefore, the health risk might be significant. In order to avoid the effects of DEHP, responsible authorithies should work together to produce measures for prevention DEHP contamination. สารประกอบได-(2-เอทธิลเฮกซิล) ทาเลต di-(2-ethylhexyl) phthalate (DEHP) เป็น สารเคมีที่ใช้นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตพลาสติก แต่เป็นสารอันตรายกับระบบต่อมไร้ท่อก่อให้เกิด ความผิดปกติต่อระบบสืบพันธุ์ และเป็นสารก่อกลายพันธุ์อีกด้วย ปัจจุบันมีรายงานการปนเปื้อนของ สารประกอบ DEHP ในสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในน้ําทิ้งอุตสาหกรรม หลุมฝังกลบขยะ หรือแม้แต่น้ําทิ้งชุมชน งานวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงปริมาณการปนเปื้อนของสารประกอบ DEHP ที่สะสม อยู่ในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนล่างซึ่งเป็นแหล่งรองรับมลพิษทางน้ํามาจาก ปากคลองสาขาต่างๆที่ไหลผ่านแหล่งกําเนิดมลพิษต่างๆเพื่อนํามาประเมิณความเสี่ยงเบื้องต้นต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ผลของการวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบDEHPในดินตะกอนและปูทะเลบริเวณทะเลสาบ สงขลาตอนล่างด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟฟี่ (gas chromatography, GC) ร่วมกับตัวตรวจวัด ชนิดเฟลมไอออไนเซชั่น (Flame ionization detector, FID) จากสถานีเก็บตัวอย่าง 8สถานีได้แก่ บริเวณปากคลองอู่ตะเภา ปากคลองสําโรง ปากคลองพะวง ปากคลองปากรอ ปากคลองภูมิปากคลอง บางกล่ํา ปากคลองปากจ่า และปากคลองสทิงหม้อ พบค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของสารประกอบDEHP ในดินตะกอนมีค่าเท่ากับ18.53±0.29,2.29±0.19,1.87±0.11,1.01±0.01,0.72±0.06,0.56±0.04, 0.52±0.05และ0.45+0.04 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอินทรีย์คาร์บอนตามลําดับ จะเห็นว่าดินตะกอนจาก ปากคลองอู่ตะเภามีความเข้มข้นเฉลี่ยของสารประกอบDEHPสูงสุดแต่มีค่าไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่ กรมควบคุมมลพิษกําหนด (36 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมอินทรีย์คาร์บอน) จึงไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงที่มี นัยสําคัญ ส่วนในตัวอย่างปูทะเลมีค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของสารประกอบDEHPในบริเวณดังกล่าว เท่ากับ 0.33±0.02,0.23±0.02,0.20±0.01,0.17±0.01,0.15±0.01,0.13±0.01,0.13±0.01 และ 0.10+ 0.01 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ําหนักแห้ง ตามลําดับ พบว่าตัวอย่างปูทะเลจากปากคลองอู่ตะเภา มีปริมาณของสารประกอบ DEHP สูงสุดและมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขของ ประเทศจีนกําหนดไว้(0.3 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ําหนักแห้ง ทําให้ความเสี่ยงต่อสุขภาพอาจมีนัยสําคัญ เพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากสารประกอบ DEHP หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องควรร่วมกัน กําหนดมาตรการป้องกันแก้ไขการปนเปื้อนของสารประกอบDEHP ในสิ่งแวดล้อมต่อไป 2023-11-16T06:35:47Z 2023-11-16T06:35:47Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19048 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |