ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19060 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19060 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การรักษาด้วยไฟฟ้า การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า บาดแผลและบาดเจ็บ |
spellingShingle |
การรักษาด้วยไฟฟ้า การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า บาดแผลและบาดเจ็บ แมมมอธ ชูอ่องสกุล ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
สุรพงษ์ ชาติพันธุ์ |
author_facet |
สุรพงษ์ ชาติพันธุ์ แมมมอธ ชูอ่องสกุล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
แมมมอธ ชูอ่องสกุล |
author_sort |
แมมมอธ ชูอ่องสกุล |
title |
ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
title_short |
ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
title_full |
ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
title_fullStr |
ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
title_full_unstemmed |
ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
title_sort |
ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19060 |
_version_ |
1783957345480474624 |
spelling |
th-psu.2016-190602023-11-16T08:30:13Z ผลของการกระตุ้นกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากไดโอดเปล่งแสงสีแดงต่อการหายของบาดแผลที่ผิวหนัง The Effects of the Combination of Electrical Stimulation and Red Light-Emitting Diode for Wound Healing on Skin แมมมอธ ชูอ่องสกุล สุรพงษ์ ชาติพันธุ์ Faculty of Medicine (Institute of Biomedical Engineering) คณะแพทยศาสตร์ สถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย์ การรักษาด้วยไฟฟ้า การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า บาดแผลและบาดเจ็บ วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 Wound healing is a biological process which replaces or repairs the tissue damage. Many treatments to induce wound healing have been studied both in vitro and in vivo such as pharmacological treatments and non-pharmacological treatments. Electrical stimulation and photo therapy are considered as non-pharmacological treatments. The objectives of this study are to fabricate a prototype of an instrument that combines an electrical stimulation and photo therapy using red light-emitting diode (LED) for wound healing and to investigate the effects of this combination treatment in the animal model. The electrical stimulator can generate 10μA direct current and it can also generate red light with 660 nm in wave length. In this study, there were 66 Wistar rats divided in 4 groups; control group, electrical stimulation group, light emitting diode group and electrical stimulation combined with light emitting diode group. Wound area on dorsal skin was photographed and calculated for wound healing rate using ImageJ. Furthermore, the amount of collagen and fibroblast growth factor was evaluated on day-7, 14 and 21.Results of this study showed that the wound healing rate at day-14 in a treatment group with electrical stimulation combined with red LED was 60% whereas that in other groups was lesser. However, after 16 days, there was no difference in wound healing rate. From staining results, it support that the treatment groups had better healing rate at day-7 and day-14 when compared with the control group because the color intensity relate to the amount of collagen and fibroblast growth factor were higher. However, there was not much different at day-21 among these groups. It can conclude that the combination of electrical stimulation and red LED provided faster wound healing rate during 10 days after wound occurrence compared with a single treatment as a result of an increase of collagen and fibroblast forming. การหายของบาดแผลเป็นกระบวนการทางชีวภาพที่ทดแทนหรือซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่เกิด มีการศึกษาเกี่ยวกับการรักษาบาดแผลมากมายทั้งในหลอดทดลองและในสิ่งมีชีวิตที่มีความเสียหาย ทั้ง การรักษาด้วยยาและการรักษาที่ไม่ใช้ยา ซึ่งการรักษาที่ไม่ใช้ยา เช่น การกระตุ้นด้วย กระแสไฟฟ้าและการรักษาด้วยแสง ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องต้นแบบของ อุปกรณ์ที่นําการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้ามาร่วมกับแสงจากหลอดไดโอดเปล่งแสงสีแดงเพื่อทํา การรักษาบาดแผลและเพื่อศึกษาผลของการรักษาร่วมดังกล่าวในสัตว์ทดลองอุปกรณ์นี้สามารถ สร้างไฟฟ้ากระแสตรงที่ 10 ไมโครแอมแปร์และแสงสีแดงที่ความยาวคลื่น 660 นาโนเมตร ใน การศึกษานี้ใช้หนูวีสตาร์แรทจํานวน 66 ตัว และแบ่งเป็น 4 กลุ่มทดลอง ได้แก่ กลุ่มควบคุม กลุ่มที่ รักษาด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า กลุ่มที่รักษาด้วยแสงจากหลอดไดโอดเปล่งแสงสีแดง และ ซึ่งพื้นที่ กลุ่มที่รักษาด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากหลอดไดโอดเปล่งแสงสีแดง ของบาดแผลที่เกิดบนหลังของสัตว์ทดลองจะถูกถ่ายรูปและนํามาคํานวณอัตราการหายของบาดแผลโดยใช้โปรแกรมอิมเมจเจ นอกจากนี้ปริมาณของคอลลาเจนและไฟโบรบลาสโกรทแฟค เตอร์จะทําการประเมินในวันที่ 7 14 และ 21 ผลของการศึกษานี้พบว่าอัตราการหายของแผลที่วันที่ 14 ของกลุ่มสัตว์ทดลองที่รักษาด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าร่วมกับแสงจากหลอด ไดโอดเปล่งแสงสีแดงมีค่า ร้อยละ 60 ในขณะที่กลุ่มอื่นมีค่าน้อยกว่านี้ แต่อย่างไรก็ตามพบว่าหลัง วันที่ 16 ของการทดลองอัตราการหายของบาดแผลมีค่าไม่แตกต่างกัน สําหรับผลการย้อมสีเพื่อหา ปริมาณของคอลลาเจนและไฟโบรบลาสโกรทแฟคเตอร์ที่วันที่ 7 และ 14 ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มที่ได้รับ การรักษาจะมีความเข้มของสีย้อมที่เข้มกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับการรักษา แต่เมื่อครบ 21 วันผลจากการย้อมจะไม่แตกต่างกันมาก ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าการใช้การกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าร่วมกับ แสงจากหลอดไดโอดเปล่งแสงสีแดงช่วยให้ในช่วง 10 วันแรกของบาดแผลหายเร็วขึ้นเมื่อ เปรียบเทียบกับการรักษาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง 2023-11-16T08:29:17Z 2023-11-16T08:29:17Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19060 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |