การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า
วิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (การบริบาลทางเภสัชกรรม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19063 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19063 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การใช้ยา การรักษาด้วยยา |
spellingShingle |
การใช้ยา การรักษาด้วยยา พรทิพย์ พามนตรี การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
description |
วิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (การบริบาลทางเภสัชกรรม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
ฐิติมา ด้วงเงิน |
author_facet |
ฐิติมา ด้วงเงิน พรทิพย์ พามนตรี |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พรทิพย์ พามนตรี |
author_sort |
พรทิพย์ พามนตรี |
title |
การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
title_short |
การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
title_full |
การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
title_fullStr |
การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
title_full_unstemmed |
การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
title_sort |
การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19063 |
_version_ |
1783957345922973696 |
spelling |
th-psu.2016-190632023-11-16T08:47:57Z การใช้ยาเพื่อป้องกันภาวะชักในระยะแรกของกลุ่มผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง การศึกษาเชิงสังเกตที่ติดตามไปข้างหน้า Drug Use for Early Posttraumatic Seizures Prophylaxis in Traumatic Brain Injury A Prospective Cohort Study พรทิพย์ พามนตรี ฐิติมา ด้วงเงิน Faculty of Pharmaceutical Sciences (Clinical Pharmacy) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก การใช้ยา การรักษาด้วยยา วิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (การบริบาลทางเภสัชกรรม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 The use of antiepileptic drug (AED) for preventing early posttraumatic seizure (PTS) is recommended by various guideline in a high-risk traumatic brain injury (TBI) patient. Although phenytoin is currently recommended as the drug of choice for early PTS prophylaxis, several drug-related problems are reported with the use of phenytoin. Therefore, other AEDs have been used for early PTS prophylaxis or some TBI patients did not receive AED prophylaxis. A prospective cohort study was conducted to explore AED used for early PTS prophylaxis in TBI patients, to examine the outcomes of patients who received phenytoin and valproate, and to examine the outcomes of patients who received and did not receive the AED for early PTS prophylaxis. All TBI patients admitted to two level I trauma centers, Songklanakarind and Hatyai Hospital, during April 2017 to March 2018 were enrolled and selected by consecutive sampling. Four hundred eighty four TBI patients were studied and 53.7% of the patients received AED for PTS prophylaxis. The most commonly used AED was phenytoin (90.7%) followed by valproate (6.9%) and levetiracetam (2.3%). Twenty- seven patients developed seizures within 7-day following TBI. Of this, 15 patients developed seizures before the AED initiation. Based on the Clinical Practice Guideline of Traumatic Brain Injury (Thailand) 2013 recommendation, 286 patients were classified as a high risk for PTS. Of this, 85% of the patients received AED for early PTS prophylaxis. For the high risk of PTS patients receiving phenytoin prophylaxis (n = 220), there were 11 patients (5%) developed early PTS and 26 patients (11.9%) died within 3 months. Ten patients developed skin rash while receiving phenytoin; one of them had Stevens-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis overlap. For the high risk of PTS patients receiving valproate prophylaxis (n = 17), none of the patients developed early PTS or adverse drug reaction. For the patients receiving any AED prophylaxis (n = 243), there were 12 patients (4.9%) developed early PTS and 27 patients (11.1%) died within 3 months. For those who did not receive AED prophylaxis, none of the patients developed early PTS or death. In conclusion, the high-risk TBI patients received AED prophylaxis and complied with the Thai guideline. Phenytoin remained the most commonly used AED for prophylaxis. However, this study would not be compared the efficacy and safety of phenytoin and valproate or the difference between the group receiving PTS prophylaxis and non-prophylaxis. ปัจจุบันได้มีคําแนะนําให้ใช้ยาป้องกันภาวะชักภายหลังการบาดเจ็บที่สมองภายในระยะ 7 วัน (early post-traumatic seizures; early PTS) โดยยากันชักที่ได้แนะน่าเป็นทางเลือก แรก คือ phenytoin แต่เนื่องจากยาชนิดนี้พบปัญหาจากการใช้ยามาก ภายหลังจึงพบความ หลากหลายของการใช้ยากันชักสําหรับป้องกัน early PTS นอกจากนั้น ยังพบว่ามีผู้ป่วยบาดเจ็บที่ สมองบางกลุ่มที่มีคุณสมบัติควรได้ยากันชักป้องกัน early PTS แต่ไม่ได้รับยา การศึกษานี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการใช้ยากันชักเพื่อป้องกัน early PTS ในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่สมอง ศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยจากการใช้ยา phenytoin และ valproate และศึกษาผลลัพธ์ ของผู้ป่วยที่ได้ยาป้องกันและไม่ได้ยาป้องกันภาวะชัก โดยศึกษาในรูปแบบ prospective cohort study เก็บข้อมูลผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมองที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์และ โรงพยาบาลหาดใหญ่ ตั้งแต่ เดือนเมษายน พ.ศ. 2560 ถึง เดือน มีนาคม 2561 สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ consecutive sampling มีผู้ป่วย 484 รายผ่านเกณฑ์การคัดเลือกเข้าในการศึกษา ในจํานวนนี้มี ผู้ป่วยร้อยละ 53.7 ได้รับยาเพื่อป้องกัน early PTS ยาที่มีการใช้มากที่สุด คือ phenytoin ร้อยละ 90.7 รองลงมา คือ valproate ร้อยละ 6.9 และ levetiracetam ร้อยละ 2.3 จากผู้ป่วยทั้งหมด 484 ราย พบผู้ป่วยเกิด early PTS 27 ราย เป็นผู้ป่วยที่ซักก่อนเริ่มยาป้องกัน 15 ราย เมื่อพิจารณาผู้ป่วย ซึ่งมีลักษณะตามเกณฑ์ที่ควรได้รับยาเพื่อป้องกันโดยอ้างอิงแนวทางเวชปฏิบัติกรณีสมองบาดเจ็บ ของ ไทย พ.ศ.2556 พบว่า มีจํานวน 286 ราย ซึ่งในจํานวนนี้มีผู้ป่วยที่ได้รับยาป้องกัน ร้อยละ 85.0 วิเคราะห์ผลลัพธ์ในกลุ่มที่ได้ยาระหว่าง phenytoin และ valproate พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับยา phenytoin จํานวน 220 ราย เกิด early PTS 11 ราย (ร้อยละ 5) เมื่อติดตามเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีผู้ป่วยเสียชีวิต 26 ราย (ร้อยละ 11.9) และมีผู้ป่วยเกิดผื่นในระหว่างที่ได้รับยา phenytoin 10 ราย โดยที่หนึ่งรายเกิดผื่นแพ้ยารุนแรง Stevens-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis overlap ในขณะที่ผู้ป่วยที่ได้รับยา valproate จํานวน 17 ราย ไม่พบ early PTS ไม่พบ ผู้ป่วยเสียชีวิตและไม่มีผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา การศึกษาผลลัพธ์ระหว่างกลุ่มที่ได้ยา ป้องกันและไม่ได้ยา พบว่า ในกลุ่มที่ได้ยาป้องกัน จํานวน 243 ราย (phenytoin, valproate, levetiracetam) เกิด early PTS 12 ราย (ร้อยละ 4.9) เมื่อติดตามเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีผู้ป่วย เสียชีวิต 27 ราย (ร้อยละ 11.2) ในขณะที่กลุ่มไม่ได้ยาไม่พบภาวะ early PTS และ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต การใช้ยาป้องกัน early PTS ในกลุ่มที่มีลักษณะตามเกณฑ์ที่ควรได้รับยาเป็นไป ในทางที่ดีโดยมีผู้ป่วยได้ยามากถึงร้อยละ 85.0 และชนิดยาที่เลือกใช้มากที่สุดคือ phenytoin ซึ่งเป็นไปตามคําแนะนํา อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ในด้านประสิทธิผลและความปลอดภัยระหว่างกลุ่ม phenytoin และ valproate หรือความแตกต่างในกลุ่มที่ได้และไม่ได้ยาป้องกัน ยังไม่สามารถ เปรียบเทียบได้ 2023-11-16T08:47:57Z 2023-11-16T08:47:57Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19063 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |