การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์
วิทยานิพนธ์ ( วท.ม. (เทคโนโลยียาง))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19065 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19065 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
โพลิยูริเธน การสังเคราะห์ ยาง |
spellingShingle |
โพลิยูริเธน การสังเคราะห์ ยาง บุญภพ ไชยศรีขวัญ การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
description |
วิทยานิพนธ์ ( วท.ม. (เทคโนโลยียาง))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
เอกสิษฐ์ อนันต์เจริญวงศ์ |
author_facet |
เอกสิษฐ์ อนันต์เจริญวงศ์ บุญภพ ไชยศรีขวัญ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
บุญภพ ไชยศรีขวัญ |
author_sort |
บุญภพ ไชยศรีขวัญ |
title |
การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
title_short |
การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
title_full |
การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
title_fullStr |
การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
title_full_unstemmed |
การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
title_sort |
การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19065 |
_version_ |
1783957346539536384 |
spelling |
th-psu.2016-190652023-11-16T09:11:22Z การเตรียมและวิเคราะห์พอลิยูรีเทนจากยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิลสำหรับประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์ Preparation and Characterization of Polyurethane from Hydroxyl Terminated Natural Rubber for Biomedical Applications บุญภพ ไชยศรีขวัญ เอกสิษฐ์ อนันต์เจริญวงศ์ Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โพลิยูริเธน การสังเคราะห์ ยาง วิทยานิพนธ์ ( วท.ม. (เทคโนโลยียาง))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 This research focused on preparation and characterization of the renewable and ecofriendly hydroxyl terminated natural rubber (HTNR). The appropriate molecular weight of HTNR for synthesis of HTNR based polyurethane (PU-HTNR) was preliminarily studied by testing different molecular weight polyethylene glycols (PEG) as models of diol molecules. The effect of the PEG molecular weight (about 200, 600, or 2000 g/mol) on the properties of PEG based polyurethane (PU-PEG) was studied. The results show that, among the cases tested, the PU-PEG film synthesized from PEG600 (about 14 repeating units) provided films with good tensile strength and elongation at break. Therefore, HTNR was synthesized with about 14 repeating units (600 g/mol) and aliphatic diisocyanate (4,4'-Methylene dicyclohexyl diisocyanate, H12MDI) were used as the monomers in the synthesis of HTNR based polyurethane (PU-HTNR). Also, 1,4-butanediol (BDO) was used as the chain extender to improve the mechanical properties of the PU-HTNR. The molar proportions (H12MDI : HTNR: BDO) were controlled at (1.05: 0.50 0.50). The synthesized PU-HTNR films were intended for biomedical applications, therefore the antimicrobial activity of the PU-HTNR films had to be improved by adding 0.5 wt% of three alternative antimicrobial substances: silver nanoparticles (AgNPs), titanium nanoparticles (TiO2), and benzoic acid (BA). The effects of the antimicrobial substances on the mechanical, morphological, and thermal properties as well as on the antimicrobial activity against both gram-positive and gram-negative bacteria of the PU-HTNR composite films were studied and are reported. The results show that the PU-HTNR-BA composite film provides good transparency and good tensile strength properties (12 MPa and 278%) as well as good antimicrobial activity, and appears to be the most suitable among the choices tested for biomedical applications. ในงานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาการเตรียมและวิเคราะห์ยางธรรมชาติที่มีหมู่ปลายเป็นไฮดรอกซิล (Hydroxyl Terminated Natural Rubber, HTNR) ซึ่งเป็นวัสดุหมุนเวียนและมีความเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม เบื้องต้นน้ําหนักโมเลกุลที่เหมาะสมของยาง HTNR ที่ใช้ในการสังเคราะห์พอลิยูรีเทน จากยาง HTNR (PU-HTNR) ศึกษาโดยการทดลองแปรน้ําหนักโมเลกุลของพอลิเอทิลีนไกลคอล (Polyetylene Glycol, PEG) เป็นแม่แบบในส่วนไดออล และศึกษาผลของการแปรน้ําหนักโมเลกุล PEG เท่ากับ 200, 600 และ 2000 กรัมต่อโมล ต่อสมบัติของพอลิยูรีเทนจาก PEG (PU-PEG) ซึ่งผล การทดลองพบว่า แผ่นฟิล์ม PU-PEG ที่สังเคราะห์จาก PEG600 (หน่วยซ้ําประมาณ 14 หน่วย) ให้ แผ่นฟิล์มที่มีค่าความต้านทานต่อแรงดึงและระยะยืด ณ จุดขาดที่ดีกว่าการใช้ PEG ความยาวสายโซ่ อื่นๆ ดังนั้นจึงได้สังเคราะห์ยาง HTNR ให้มีจํานวนหน่วยเท่ากับ 14 หน่วย (1000 กรัมต่อโมล) และทําปฏิกิริยากับไดไอโซไซยาเนตชนิดอะลิฟาติก คือ 4,4- เมทิลีนไดไซโคลเฮกซิลไดไอโซไซยาเนต (4,4-Methylene Dicyclohexyl Diisocyanate, H12MDI) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ PU-HTNR รวมถึงใช้ 1,4' - บิวเทนไดออล (1,4 - Butanediol, BDO) เป็นตัวขยายสายโซ่เพื่อเพิ่มสมบัติเชิงกลให้กับ PU-HTNR และกําหนดสัดส่วนโดยโมลระหว่าง H12MDI : HTNR : BDO เท่ากับ 1.05:0.50:0.50 โดยมุ่งเน้นการสังเคราะห์แผ่นฟิล์มพอลิยูรีเทนเพื่อประยุกต์ใช้ทางด้านชีวการแพทย์ ดังนั้นจึงต้องปรับปรุงฤทธิ์การยับยั้งจุลินทรีย์ของแผ่นฟิล์ม PU-HTNR คอมโพสิต โดยการเติมสารตัว เติมยับยั้งจุลินทรีย์ที่แตกต่างกัน 3 ชนิด คือ นาโนไทเทเนียม (Titanium Nanoparticles, TiO2) นาโนซิลเวอร์ (Silver Nanoparticles, AgNPs) และ กรดเบนโซอิก (Benzoic acid, BA) ที่ปริมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ และศึกษาผลของสารยับยั้งแบคทีเรียต่อสมบัติเชิงกล ลักษณะสัณฐานวิทยา และ สมบัติเชิงความร้อน รวมถึงฤทธิ์การยับยั้งจุลินทรีย์ของแผ่นฟิล์ม PU-HTNR คอมโพสิต ผลการ ทดลองพบว่าแผ่นฟิล์ม PU-HTNR-BA คอมโพสิต ให้ความโปร่งใสและสมบัติเชิงกลที่ดี (ความ ต้านทานต่อแรงดึงเท่ากับ 12 MPa และ ระยะยืด ณ จุดขาด เท่ากับ 278 เปอร์เซ็นต์) รวมถึงมีฤทธิ์ ในการยับยั้งแบคทีเรียที่ดี และยังเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุดในการทดสอบสําหรับประยุกต์ใช้งานด้านชีวการแพทย์ 2023-11-16T09:11:07Z 2023-11-16T09:11:07Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19065 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |