การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม
วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19066 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19066 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ความรอบรู้ทางสุขภาพ การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ |
spellingShingle |
ความรอบรู้ทางสุขภาพ การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ นูรไอนา ดารามาลย์ การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
description |
วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
สงวน ลือเกียรติบัณฑิต |
author_facet |
สงวน ลือเกียรติบัณฑิต นูรไอนา ดารามาลย์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นูรไอนา ดารามาลย์ |
author_sort |
นูรไอนา ดารามาลย์ |
title |
การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
title_short |
การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
title_full |
การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
title_fullStr |
การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
title_full_unstemmed |
การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
title_sort |
การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19066 |
_version_ |
1783957346718842880 |
spelling |
th-psu.2016-190662023-11-16T09:18:57Z การทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจในผู้ป่วยชาวมุสลิม Validation of the Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension in Muslim Patients นูรไอนา ดารามาลย์ สงวน ลือเกียรติบัณฑิต Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacy Administration) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ ความรอบรู้ทางสุขภาพ การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 This study aims to test the Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension (THLA-W+) and to determine a cut-off of the test for judging the levels of health literacy in Muslim patients, and to determine cut-off value to interpret the level of health literacy (HL), and to compare the properties of the THLA-W+ calculating the score which obtained from the test in 3 methods (THLA-W+R, THLA-W+C and THLA-W+RC). The researcher used the THLA- W+ developed by Phadoong Chanchuto (2017). The scale consists of 48 words with 4 corresponding choices to test the comprehension of word meaning. Scoring of the scale were conducted in 3 methods: 1) calculating the score from reading test (THLA-W+R), 2) calculating the score from comprehension test (THLA-W+C), and 3) calculating the score from both reading and comprehension test (THLA-W+RC). The THLA-W+ was administered to 767 Muslim outpatients in Yaring hospital in Pattani province. The subjects completed THLA-W+, questionnaires on HL indicating variables and Thai Health Literacy Assessment Using Nutrition Label (THLA-N). The result showed that reliabilities of the THLA-W+R, THLA-W+C and THLA-W+RC were high as 0.982, 0.969 and 0.969 respectively. Validity of the scale was evident from the ability of the THLA-W+C and THLA-W+RC to discriminate the subjects with different levels of education. Their discriminating ability was better than that of the THLA-W+R. Correlation coefficient between the THLA-W+ scores from all three methods of calculation with HL indicators (eg, reading ability, understanding of health documents) was positive and statistically significant (r=0.222-0.816). The THLA- W+C and THLA-W+RC showed a higher correlation coefficient than the THLA-W+R did. Overall, those with correct response on the questions in HL indicators (eg, reading ability) obtained a higher level of THLA-W+ scores than those with incorrect answers did. THLA-W+C and THLA-W+RC were highly correlated with r=0.98. The analysis of the receiver operating characteristics (ROC) with reading ability, understanding of health documents and THLA-N as gold standards revealed that the THLA-W+R had an area under the curve (AUC) of 0.641-0.660 (depending on gold standards), which was less than the AUCS of the THLA-W+C and THLA-W+RC, which were 0.820-0.830 and 0.826-0.832, respectively. The result indicated that THLA-W+C and THLA-W+RC were more accurate in classifying the levels of HL than THLA-W+R was. The cut-off value of the THLA-W+R, THLA-W+C and THLA-W+RC were 47, 37 and 37 respectively. Sensitivities of the scales were 41.9-46.5, 68.7-78.6 and 70.7-80.7 respectively. THLA-W+C and THLA-W+RC were more sensitive than THLA-W+R. Specificities of three measures were similar at 76.21-88.10, 67.96-83.33 and 66.02- 80.95, likelihood ratio for a positive more than one which indicates to advantages of screening test. The THLA-W+ was reliable and valid for using in Muslim patients. Scale should be administered as comprehension test alone because it gives the scores with a better psychometric property than the reading test. Moreover, it simplifies testing process and required no staff to judge the pronunciation of the subjects. The THLA- W+C shows a satisfactory sensitivity and specificity with the score of 37 or lower indicating inadequate HL. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความถูกต้องของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสําหรับชาวไทยชนิดรายการคําที่มีคําถามทดสอบความเข้าใจ หรือ Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension (THLA-W+) ในผู้ป่วยมุสลิมและหาจุดตัดเกณฑ์คะแนน (cut-off) ที่เหมาะสม ของแบบวัดเพื่อใช้ตัดสินระดับความแตกฉานด้านสุขภาพ (health literacy: HL) และ เปรียบเทียบคุณสมบัติของแบบวัด THLA-W+ ที่คิดคะแนนจาก 3 แบบคะแนนผู้วิจัยใช้แบบวัด THLA-W+ ที่พัฒนาโดย เภสัชกรผดุง จันชูโต (2560) ที่ประกอบด้วยคํา 48 คําพร้อม 4 ตัวเลือกในแต่ละคําเพื่อทดสอบความเข้าใจของตัวอย่างต่อคําในแบบวัด การคํานวณคะแนนทํา ใน 3 แบบคะแนน คือ 1) คํานวณจากการทดสอบการอ่าน (THLA-W+R) 2) คํานวณจากการ ทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+C) และ 3) คํานวณจากการทดสอบการอ่านร่วมกับการทดสอบ ความเข้าใจ (THLA-W+RC) การศึกษาครั้งนี้ทดสอบแบบวัดในผู้ป่วยนอกที่เป็นชาวมุสลิม 767 คนของโรงพยาบาลยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ตัวอย่างตอบแบบวัด THLA-W+ แบบสอบถามวัดตัว แปรที่บ่งชี้ระดับ HL รวมทั้ง Thai Health Literacy Assessment Using Nutrition Label (THLA-N) ผลการศึกษาพบว่า THLA-W+R, THLA-W+C และ THLA-W+RC มีความ เที่ยงสูง 0.982, 0.969 และ 0.969 ตามลําดับ ความตรงของแบบวัดเห็นได้จากการที่ THLA- W+C และ THLA-W+RC สามารถแยกกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาที่แตกต่างกันได้ดี และ ดีกว่า THLA-W+R สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนน THLA-W+ ทั้ง 3 แบบกับตัวชี้วัด HL (เช่น ความสามารถในการอ่าน ความเข้าใจเอกสารทางสุขภาพ) เป็นบวกและมีนัยสําคัญทาง สถิติ (r=0.222-0.816) THLA-W+C และ THLA-W+RC มีค่าสหสัมพันธ์ที่สูงกว่า THLA-W+R โดยรวมผู้ที่ตอบเกี่ยวกับตัวชี้วัด HL (เช่น ความสามารถในการอ่าน) ได้ถูกต้องมีคะแนน THLA-W+ สูงกว่าผู้ที่ตอบผิด THLA-W+C และ THLA-W+RC มีความสัมพันธ์กันสูงโดย r = 0.98 การวิเคราะห์โค้ง receiver operating characteristic (ROC) โดยมีความสามารถในการอ่าน ความเข้าใจเอกสารทางสุขภาพ และ THLAN เป็น gold standard พบว่า THLA-W+R มี area under the curve (AUC) เท่ากับ 0.641-0.660 (ขึ้นกับ gold standard) ซึ่งน้อยกว่า AUC ของ THLA-W+C และ THLA-W+RC ซึ่งเท่ากับ 0.820-0.830 และ 0.826-0.832 ตามลําดับ บ่งบอกว่า THLA-W+C และ THLA-W+RC มีความถูกต้องในการ จําแนกระดับ HL ดีกว่า THLA-W+R จุดตัดคะแนนของ THLA-W+R THLA-W+C และ THLA- W+RC คือ 47, 37 และ 37 ตามลําดับ ผลความไวของแบบวัด คือร้อยละ 41.9-46.5, 68.7-78.6 และ 70.7-80.7 ตามลําดับ THLA-W+C และ THLA-W+RC มีความไวมากกว่า THLA-W+R ส่วนความจําเพาะของทั้ง 3 แบบวัดมีค่าใกล้เคียงกัน คือ 76.21-88.10, 67.96-83.33 และ 66.02-80.95 ตามลําดับ แบบวัดมีค่า positive likelihood ratios (LR+) มากกว่า 1 ซึ่งบ่งบอกว่า แบบวัดมีประโยชน์ในการคัดกรอง THLA-W+ มีความเที่ยงและความตรงในผู้ป่วยมุสลิม การทดสอบควรทําโดย ทดสอบเฉพาะความเข้าใจเพียงอย่างเดียว เพราะทําให้ได้คะแนนที่มีคุณสมบัติการวัดที่ดีกว่า การทดสอบการอ่าน และทําให้กระบวนการทดสอบง่ายขึ้น เนื่องจากไม่ต้องใช้บุคลากรในการ ตัดสินการอ่านออกเสียงคํา THLA-W+C มีความไว และความจําเพาะที่น่าพอใจโดยผู้ที่ได้คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 37 ถือว่ามี HL ไม่พียงพอ 2023-11-16T09:18:56Z 2023-11-16T09:18:56Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19066 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |