การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน
วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19068 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19068 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การสำรวจสุขภาพ ไทย แบบประเมินคุณภาพ |
spellingShingle |
การสำรวจสุขภาพ ไทย แบบประเมินคุณภาพ ฮุซนา หะยีบือราเฮ็ง การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน |
description |
วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
สงวน ลือเกียรติบัณฑิต |
author_facet |
สงวน ลือเกียรติบัณฑิต ฮุซนา หะยีบือราเฮ็ง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ฮุซนา หะยีบือราเฮ็ง |
author_sort |
ฮุซนา หะยีบือราเฮ็ง |
title |
การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน |
title_short |
การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน |
title_full |
การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน |
title_fullStr |
การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน |
title_sort |
การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (thla-w+) การทดสอบชุมชน |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19068 |
_version_ |
1783957358988230656 |
spelling |
th-psu.2016-190682023-11-17T02:17:36Z การพัฒนาแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสำหรับชาวไทยชนิดรายการคำที่มีคำถามทดสอบความเข้าใจ (THLA-W+) การทดสอบชุมชน Development of the Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension (THLA-W+) Testing in Community ฮุซนา หะยีบือราเฮ็ง สงวน ลือเกียรติบัณฑิต Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacy Administration) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ การสำรวจสุขภาพ ไทย แบบประเมินคุณภาพ วิทยานิพนธ์ (ภ.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 This study aimed to test the validity and reliability of the Thai Health Literacy Assessment Questionnaire Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension (THLA-W+) in the public and to determine the cut-off value of the scale to interpret the level of health literacy (HL). The researcher tested the THLA-W+ developed by Padong Chanchuto (2017) in 522 people living in Kor-en community within Phuket. There were 3 methods to calculate the scores for THLA-W +, 1. from the number of words with correct pronunciation from reading test, 2. from the number of words with correct choice from comprehension test, and 3. from the number of words with correct pronunciation and choices. The THLA-W+ test took an average of 6.69 +1.188 minutes. Reliabilities of the scores calculated from reading test, comprehension test and both tests were 0.801, 0.869 and 0.869, respectively, which was satisfactory. Average scores of the THLA-W+ were 45.57 ± 3.24, 31.58 ± 7.65 and 30.59 ± 7.82, respectively Addition of extended questions lowered average score and increased standard deviation. Subjects with a higher level of education got a higher score on the THLA-W+. Correlation coefficients between THLA-W+ score with different HL indicators (eg, understanding of health documents) were positive and statistically significant (r=0.129-0.369). However, the HL indicators measuring various dimensions of the construct beyond reading skill (eg, understanding of health documents) exhibited a lower correlation with THLA-W+ score calculated from reading test compared to that from the selection of correct choice. Correlation coefficient of THLA-W+ calculated from choice selection and that from reading test together with choice selection were as high as 0.98. THLA-W+ score based on the selection of correct choices and that on reading test together with choice selection showed the same result from the analysis of the Receiver Operating Characteristics (ROC) curve in terms of sensitivity, specificity, areas under the ROC curve, positive predictive value (PPV), negative predictive value (NPV), positive likelihood ratio (LR +) and negative likelihood ration (LR-). However, their profiles from analysis were better than THLA-W+ based on reading test. THLA-W+ based on selection of correct choice had a cut-off value at 37 indicating that those with the score 37 having inadequate HL. The score on THLA-W+ could well discriminate those with different levels of HL when using reading ability and understanding of health documents as gold standard. The scale showed sensitivity at 77-82%, specificity at 81-83%, areas under the ROC curve at 0.86-0.87, and PPV at 99%, but low NPV at 7%. LR + was 4.24-4.64, while LR- was 0.27-0.28, implying that the scale could provide important information for decision making in practice. The scale was appropriate for HL surveys in public. It is therefore concluded that use of the THLA-W+ for public survey of HL should calculate the score from choice selection because of its better psychometric properties compared to those calculated from reading test. Moreover, it simplifies testing process by not requiring to have the staff for testing reading skill of subjects. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความตรงและความเที่ยงของแบบประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพสําหรับชาวไทยชนิดรายการคําที่มีคําถามทดสอบความ Thai Health Literacy Assessment Using Word List with Extended Questions to Test Comprehension (THLA-W+) ในประชาชนทั่วไป และเพื่อศึกษาหาเกณฑ์คะแนน (cut-off) ที่ใช้แปลผลระดับความแตกฉานทางสุขภาพ (health literacy: HL) ผู้วิจัยนําแบบ ประเมิน THLA-W+ ที่พัฒนาโดยผดุง จันชูโต (2560) มาทดสอบในประชาชนทั่วไปจํานวน 522 คน ในชุมชนบ้านคอเอน จังหวัดภูเก็ต การคํานวณคะแนน THLA-W+ มี 3 วิธี คือ 1. คิดคะแนนจากการอ่านคําถูกต้อง 2. คิดคะแนนจากการเลือกตัวเลือกถูกต้อง และ 3. คิดคะแนนจากการอ่านคําและการเลือกตัวเลือกถูกต้องร่วมกัน การทดสอบด้วย THLA-W+ ใช้เวลาเฉลี่ย 6.69 +1.88 นาที คะแนนจากการ อ่าน การเลือกตัวเลือก และการอ่านร่วมกับการเลือกตัวเลือก THLA-W+ มีความเที่ยงเท่ากับ 0.801, 0.869 และ 0.869 ตามลําดับ ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ค่าเฉลี่ยของ THLA-W+ เท่ากับ 45.57 + 3.24, 31.58 + 7.65 และ 30.59 + 7.82 ตามลําดับ การเพิ่มตัวเลือกเพื่อ ทดสอบความเข้าใจทําให้คะแนนเฉลี่ยลดลง และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากขึ้น ตัวอย่างที่ มีระดับการศึกษาที่สูงกว่า มีคะแนน THLA-W+ ที่มากกว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ THLA-W+ กับตัวชี้วัด HL ต่าง ๆ กัน เป็นบวกและมีนัยสําคัญทางสถิติ (r=0.129-0.369) แต่ใน ตัวชี้วัด HL ที่เน้นทดสอบความเข้าใจในมิติที่หลากหลายมากกว่าการอ่าน (เช่น ความเข้าใจใน เอกสารสุขภาพ) พบว่า ค่า r ของ THLA-W+ ที่คํานวณจากการอ่านจะต่ํากว่า THLA-W+ ที่คํานวณจากการเลือกตัวเลือก ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ THLA-W+ จากการเลือกตัวเลือก กับคะแนนจากการอ่านร่วมกับการเลือกตัวเลือก มีค่าสูงถึง 0.98 THLA-W+ จากการเลือกตัวเลือกเหมือนกับ THLA-W+ จากการอ่านร่วมกับ การเลือกตัวเลือกมีผลการวิเคราะห์โค้ง Receiver Operating Characteristics (ROC) ในเรื่องความไว ความจําเพาะ พื้นที่ใต้โค้ง ROC ค่าความถูกต้องในการทํานาย positive predictive value (PPV), negative predictive value (NPV), positive likelihood ratio (LR+) และ negative likelihood ratio (LR) แต่มีคุณลักษณะที่ดีกว่า THLA-W+ จากการอ่าน THLA-W+ ที่คํานวณจากการเลือกตัวเลือกมีเกณฑ์แปลผลคะแนน คือ ผู้ที่ได้ คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 37 ถือว่ามี HL ที่ไม่เพียงพอ คะแนน THLA-W+ สามารถแยกแยะ ผู้ที่มีระดับ HL ต่างกันได้ดี เมื่อใช้ความสามารถในการอ่านและความสามารถในการเข้าใจ เอกสารสุขภาพเป็นตัวแปรมาตรฐาน แบบวัดมีความไวร้อยละ 77-82 ความจําเพาะร้อยละ 81- 83 พื้นที่ใต้โค้งที่ 0.86-0.87 ค่า PPV ของแบบวัด คือ ร้อยละ 99 แต่มี NPV น้อย คือ ร้อยละ 7 ส่วน LR+ มีค่า 4.24-4.64 ส่วน LR- มีค่า 0.27-0.28 ซึ่งถือว่าแบบวัดสามารถให้ข้อมูลที่สําคัญ ต่อการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน แบบวัดจึงมีความเหมาะสมที่จะนําไปใช้สํารวจระดับ HL ในประชาชน ดังนั้น จึงสรุปว่า การสํารวจ HL ด้วย THLA-W+ ในชุมชนควรคํานวณคะแนน การเลือกตัวเลือกเพียงอย่างเดียว เพราะจะทําให้ได้คะแนนที่มีคุณสมบัติการวัดที่ดีกว่าการ ทดสอบการอ่าน และทําให้กระบวนการทดสอบง่ายขึ้น เนื่องจากไม่ต้องใช้บุคคลากรในการทดสอบการอ่านของตัวอย่าง 2023-11-17T02:17:36Z 2023-11-17T02:17:36Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19068 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |