ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กานต์สิรี ธิมาบุตร
Other Authors: นิตยา อัมรัตน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19080
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19080
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic เงาะ การเก็บและรักษา
สารต้านเชื้อรา
ไคโตแซน
สารสกัดจากพืช
เชื้อราก่อโรค
เคี่ยม(พืช)
spellingShingle เงาะ การเก็บและรักษา
สารต้านเชื้อรา
ไคโตแซน
สารสกัดจากพืช
เชื้อราก่อโรค
เคี่ยม(พืช)
กานต์สิรี ธิมาบุตร
ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2561
author2 นิตยา อัมรัตน์
author_facet นิตยา อัมรัตน์
กานต์สิรี ธิมาบุตร
format Theses and Dissertations
author กานต์สิรี ธิมาบุตร
author_sort กานต์สิรี ธิมาบุตร
title ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
title_short ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
title_full ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
title_fullStr ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
title_full_unstemmed ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
title_sort ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19080
_version_ 1783957350160269312
spelling th-psu.2016-190802023-11-20T07:55:49Z ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อการยับยั้งเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวและการรักษาคุณภาพของผลเงาะ Efficiency of Cotylelobium lanceolatum Criab Extract Combined with Chitosan Against Fungi Causing Postharvest Disease and Maintaining Rambutan Fruit Quality กานต์สิรี ธิมาบุตร นิตยา อัมรัตน์ Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เงาะ การเก็บและรักษา สารต้านเชื้อรา ไคโตแซน สารสกัดจากพืช เชื้อราก่อโรค เคี่ยม(พืช) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร), 2561 The effects of Kiam (Cotylelobium lanceolatum Craib) crude extract combined with chitosan on postharvest fungal diseases and quality of rambutan fruit were conducted in ‘Rongrien’ rambutan grown in Nasan district, Surat Thani Province. The results of fungal isolation showed that Diaporthe sp., Phomopsis sp. 1, Phomopsis sp. 2 and Phomopsis sp. 3 were the most dominant fungi causing fruit rot disease in the rambutan fruits collected from Nasan area. According to the pathogenicity test by wound-inoculation, rambutan fruits infected by Phomopsis sp. 3 showed the highest disease severity. The efficacy of branch and leaf extracts from Kiam was investigated on PDA medium containing crude extracts at concentrations of 0 (control), 500, 1,000, 2,000, 4,000, 6,000 and 8,000 μg/mL. The results found that the most effective concentration for controlling Diaporthe sp. Phomopsis sp. 1 and Phomopsis sp. 3 was at 8,000 μg/mL of Kiam extract, which the percentage of inhibition was 39.16, 54.24 and 42.51 % respectively. For Phomopsis sp. 2 the highest percentage of inhibition (41.48 %) was observed at the concentration of 6,000 μg/mL of the branch extract. These results suggest the potential of Kium extract, especially from branches better than from leaves, for controlling postharvest fungal disease. The postharvest quality of rambutan fruit effected by the branch extract combined with chitosan were examined during storage at 25 C for 8 days. It was found that the rambutan fruits treated with 6,000 μg/mL crude extract combined with 10 ppm chitosan could reduce the percentage of weight loss, delay fruit softening, browning of peel and spintern, fruit rot disease, total soluble solids (TSS) and titratable acidity (TA). Therefore, application of Kium extract together with chitosan could be an optional treatment to develop in order to replace chemical usage in postharvest treatment of rambutan and other fruits. การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากเคี่ยมร่วมกับไคโตซานในการรักษาคุณภาพและการยับยั้งเชื้อก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวของผลเงาะพันธุ์โรงเรียน ในพื้นที่อาเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี สามารถคัดแยกราที่ก่อให้เกิดโรคเน่าหลังการเก็บเกี่ยวจากผลเงาะ ได้ 4 ไอโซเลต คือ Diaporthe sp. Phomopsis sp. 1 Phomopsis sp. 2 แ ล ะ Phomopsis sp. 3 โด ย จากการทดสอบการก่อโรคของเชื้อในผลเงาะด้วยวิธี Pathogenicity test พบว่า Phomopsis sp. 3 แสดงอาการของโรคเน่าในผลเงาะได้รุนแรงที่สุด และเมื่อนาราทั้ง 4 ไอโซเลต ไปทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากกิ่งและใบเคี่ยมที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ คือ 0 (ชุดควบคุม) 500 1,000 2,000 4,000 6,000 และ 8,000 μg/mL พบว่า สารสกัดหยาบจากเคี่ยมที่ระดับความเข้มข้น 8,000 μg/mL สามารถการยับยั้งการเจริญของ Diaporthe sp. Phomopsis sp. 2 และ Phomopsis sp. 3 ได้ดีที่สุด มีค่าเปอร์เซ็นต์การยับยั้งการเจริญของเชื้อเท่ากับ 39.16 54.24 และ 42.51 % ตามลาดับ ในขณะที่สารสกัดหยาบจากกิ่งเคี่ยมที่ระดับความเข้มข้น 6,000 μg/mL สามารถยับยั้งการเจริญของ Phomopsis sp. 1 ได้ดีที่สุด ซึ่งมีค่าการยับยั้งการเจริญของราเท่ากับ 41.48 % โดยจากผลการทดลองที่ได้ ชี้ให้เห็นว่า สารสกัดหยาบจากส่วนของกิ่งเคี่ยมมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อก่อโรคได้ดีกว่าจากส่วนของใบ และจากการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากกิ่งเคี่ยมร่วมกับไคโตซานต่อคุณภาพของผลเงาะหลังการเก็บเกี่ยวในระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 25 ºC เป็นเวลา 8 วัน พบว่า การใช้สารสกัดหยาบจากกิ่งเคี่ยมความเข้มข้น 6,000 μg/mL ร่วมกับไคโตซานความเข้มข้น 10 ppm สามารถลดเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้าหนัก และชะลอการลดลงของความแน่นเนื้อได้ มีแนวโน้มชะลอการเกิดสีน้าตาลของเปลือกและขน การเกิดโรคเน่าบนผิวเงาะ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณของแข็งที่ละลายน้าได้ทั้งหมด (TSS) และปริมาณกรดทั้งหมดที่ไทเทรตได้ (TA) และมีประสิทธิภาพในการรักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวในเงาะมากขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับไคโตซาน ดังนั้น การใช้สารสกัดจากเคี่ยมและไคโตซานจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะนามาพัฒนาการยืดอายุและรักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อใช้ทดแทนการใช้สารเคมี 2023-11-20T07:55:33Z 2023-11-20T07:55:33Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19080 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์