ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด

พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเด็ก), 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วาสนา โชติสัมพันธ์เจริญ
Other Authors: วันธณี วิรุฬห์พานิช
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19081
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19081
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การบริหารความเครียด
มะเร็งในเด็ก เคมีบำบัด
ผู้ดูแล
spellingShingle การบริหารความเครียด
มะเร็งในเด็ก เคมีบำบัด
ผู้ดูแล
วาสนา โชติสัมพันธ์เจริญ
ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
description พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเด็ก), 2561
author2 วันธณี วิรุฬห์พานิช
author_facet วันธณี วิรุฬห์พานิช
วาสนา โชติสัมพันธ์เจริญ
format Theses and Dissertations
author วาสนา โชติสัมพันธ์เจริญ
author_sort วาสนา โชติสัมพันธ์เจริญ
title ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
title_short ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
title_full ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
title_fullStr ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
title_full_unstemmed ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
title_sort ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19081
_version_ 1783957350419267584
spelling th-psu.2016-190812023-11-20T08:03:52Z ผลของการทำกลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด Effects of a Self-Help Group on Stress and Coping Among Caregivers of Children with Cancer Receiving Chemotherapy วาสนา โชติสัมพันธ์เจริญ วันธณี วิรุฬห์พานิช Faculty of Nursing (Pediatric Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ การบริหารความเครียด มะเร็งในเด็ก เคมีบำบัด ผู้ดูแล พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเด็ก), 2561 The purpose of this quasi-experimental study was to examine effects of a self-help group on stress and coping among caregivers of children with cancer receiving chemotherapy. The sample consisted of caregivers of children with cancer admitted in the pediatric cancer ward, Songklanagarind Hospital. Purposive sampling was used to select sample into a control group (n = 25) and an experimental group (n = 25). The experimental group received the usual nursing care and participated in a self-help group. The control group received the usual nursing care. Data collection was first conducted in the control group and then in experimental group. Data were collected using the demographic data form, stress questionnaires and coping strategies questionnaire. All questionnaires were tested for content validity by three experts. Stress questionnaires was tested for reliability, yielding a Cronbach’s alpha coefficient of .83 and coping strategies questionnaires was test-retested for reliability, yielding the Pearson’s correlation coefficient .89. Pearson’s correlation coefficient of problem-focused coping, emotional-focused coping and palliative-focused coping were .77, .79 and .70 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square and t-test. The results were as follows: 1. The mean score of stress in the experimental group after participating in the self-help group was significantly lower than that of before participating in a self-help group (p = .001). 2. The mean score of stress of control group after receiving the usual nursing care on the third day was not significantly different from the first day (p = .663). 3. The mean scores of stress of the control group and experimental group before participating in a self-help group were not significantly different (p = 0.859). 4. The mean score of stress in the experimental group after participating in the self-help group was significantly lower than that of control group (p = .008). 5. The mean score of the problem-focused coping in the experimental group after participating in the self-help group was significantly higher than before participating in a self-help group (p = .001). 6. The mean score of the emotional-focused coping and palliative-focused coping after participating in a self-help group in the experimental group were not significantly different from before participating in the self-help group (p = .650, p = .112 respectively). 7. The mean scores of the problem-focused coping emotional-focused coping and palliative-focused coping after received the usual nursing care in the control group were not significantly different from before receiving the usual nursing care (p = .300, p = .200, p = .453 respectively). 8. The mean score of the problem-focused coping in the experimental group after participating in the self-help group were significantly higher than that in the control group (p = .048). 9. The mean scores of emotional-focused coping and palliative-focused coping between the experimental and control group after the intervention were not significantly different (p = .420, p = .059 respectively). 10. The difference in scores of the experimental group and the control group was greatest for problem-focused coping, followed by palliative-focused coping and emotional-focused coping respectively. การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองต่อความเครียดและการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบาบัด กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งที่นาเด็กมารับการรักษาที่หอผู้ป่วยเด็ก 2 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กาหนดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 ราย กลุ่มทดลองได้รับการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองตามคู่มือการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองร่วมกับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บข้อมูลในกลุ่มควบคุมก่อนแล้วตามด้วยกลุ่มทดลอง โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียดและแบบสอบถามวิธีการเผชิญความเครียด ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และหาค่าความเที่ยงของแบบวัดความเครียด ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .83 และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามวิธีการเผชิญความเครียดโดยวิธีการทดสอบซ้า ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันโดยรวมได้เท่ากับ .89 เมื่อคิดค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สันเป็นรายด้าน ด้านการเผชิญหน้ากับปัญหา เท่ากับ .77 ด้านการจัดการกับอารมณ์ เท่ากับ .79 และด้านการบรรเทาความเครียด เท่ากับ .70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ และสถิติที ผลการวิจัย พบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยความเครียดของกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองต่ากว่าก่อนการเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p = .001) 2. คะแนนเฉลี่ยความเครียดของกลุ่มควบคุมภายหลังได้รับการพยาบาลตามปกติในวันที่ 3 ไม่แตกต่างจากวันที่ 1 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = .663) 3. คะแนนเฉลี่ยความเครียดก่อนเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = 0.859) 4. คะแนนเฉลี่ยความเครียดของกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองต่ากว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p = .008) 5. คะแนนเฉลี่ยการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหา ในกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p = .001) 6. คะแนนเฉลี่ยการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับอารมณ์และด้านการบรรเทาความเครียดหลังเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเอง ในกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกับก่อนเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = .650 และ p = .112 ตามลาดับ) 7. คะแนนเฉลี่ยการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหา ด้านการจัดการกับอารมณ์และด้านการบรรเทาความเครียดภายหลังได้รับการพยาบาลตามปกติ ในกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างจากก่อนได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = .300, p = .200 และ p = .453 ตามลาดับ) 8. คะแนนเฉลี่ยการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาในกลุ่มทดลองหลังการเข้าร่วมการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = .048) 9. คะแนนเฉลี่ยการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับอารมณ์และด้านการบรรเทาความเครียดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = .420 และ p = .059 ตามลาดับ) 10. คะแนนสัมพัทธ์ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมใช้วิธีการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการบรรเทาความเครียดและด้านการจัดการกับอารมณ์ตามลาดับ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การทากลุ่มช่วยเหลือตนเองส่งผลให้ผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งมีความเครียดลดลงและการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาดีขึ้น ดังนั้นพยาบาล ควรนาการทากลุ่มช่วยเหลือตนเองไปใช้ลดความเครียดและเพิ่มการเผชิญความเครียดกับปัญหาต่างๆ ของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งให้ดียิ่งขึ้น 2023-11-20T08:03:35Z 2023-11-20T08:03:35Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19081 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์