การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์), 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เปรมกมล ต้นครองจันทร์
Other Authors: ภูวดล ธนะเกียรติไกร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2023
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19087
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-19087
record_format dspace
spelling th-psu.2016-190872023-11-21T03:23:39Z การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง Visualization of touch DNA from improvised explosive device (IED) evidence เปรมกมล ต้นครองจันทร์ ภูวดล ธนะเกียรติไกร Faculty of Science (Applied Science) คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดีเอ็นเอ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์), 2561 Bombing cases are the second most frequent means of attack in the Southern Thailand’s insurgency. Improvised explosive devices or IEDs are made from household items, and the assembling process usually results in the deposition of touch DNA on the IEDs. However, STR typing from touch DNA mostly results in low success rates due to the low amount of DNA available and our inability to locate areas where they have been deposited. To solve this problem, six fluorescent DNA-binding dyes were evaluated at various concentrations to find the most efficient dye for touch DNA visualization that could also be used with direct PCR to increase success rates of STR typing from IED substrates. I found that SYBR® Green I at 0.9X and Diamond™ dye at 1.4X concentration were the two most efficient dyes. STR profiles from stained samples were investigated and indicated that DiamondTM dye inhibited PCR and resulted in fewer alleles when compared to SYBR® Green I; thus 0.9X of SYBR® Green I was chosen for further testing. The prepared SYBR® Green I dye was stable up to 24 h when stored in -20°C. Ten mock IEDs were constructed and investigated either using the developed method (visualization and direct PCR) in our laboratory or with the conventional method at a forensic police laboratory. The results showed that developed method produced significantly more alleles from the IED’s constructor (95% HDI: 0.7 to 10.0 alleles) and led to a decrease in non-donor’s allele. Moreover, the fluorescence level was directly correlated to the number of alleles obtained. The developed method has the potential to transform the way forensic scientists work with evidence potentially containing touch DNA. เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดขึ้นมาอย่างยาวนาน ส่งผลให้เกิดความสูญเสียในชีวิต ทรัพย์สิน และความมัน่ คงของประเทศ โดยหนึ่งในรูปแบบ การก่อเหตุที่นิยมใช้มากที่สุดคือการวางระเบิด โดยเฉพาะระเบิดแสวงเครื่อง ซึ่งสามารถ ประกอบขึ้นจากวัสดุที่มีอยู่ในท้องถนิ่ การประกอบและขนย้ายระเบิดแสวงเครื่องด้วยมือเปล่า ย่อมเกิดการหลุดลอกของเซลล์ผิวหนังจากผู้ก่อการร้ายไปสู่ส่วนประกอบของระเบิด ทาให้ สามารถตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอและเชื่อมโยงสู่ผู้กระทาผิดได้ อย่างไรก็ตาม การตรวจพิสูจน์ ลายพิมพ์ดีเอ็นเอจากหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องมีอัตราความสาเร็จต่า เนื่องจากเซลล์และ ดีเอ็นเออิสระจากการสัมผัสมีปริมาณน้อยและไม่สามารถมองเห็นหรือระบุตาแหน่งบนหลักฐาน ได้อย่างชัดเจน ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงต้องการพัฒนาชุดน้ายาสารเรืองแสงที่มีประสิทธิภาพในการ ตรวจระบุตาแหน่งของเซลล์และดีเอ็นเออิสระจากการสัมผัสบนวัสดุระเบิดแสวงเครื่อง ร่วมกับ การตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอด้วยเทคนิคไดเร็คพีซีอาร์ ผลการศึกษาพบว่า สามารถพัฒนา ชุดน้ายาสารเรืองแสงและกระบวนการดังกล่าวได้สาเร็จ โดยใช้สารเรืองแสง SYBR® Green ที่ ความเข้มข้น 0.9 เท่า ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพลายพิมพ์ดีเอ็นเอน้อยที่สุด ชุดน้ายา สารเรืองแสงความเข้มข้นนี้สามารถเก็บรักษาได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิ -20°C เป็นเวลา 1 วัน โดยยัง ปรากฎการเรืองแสงที่เข้มในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ พบว่าชุดน้ายาสารเรืองแสงและ กระบวนการที่พัฒนาขึ้นให้อัตราความสาเร็จในการตรวจพิสูจน์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอจากหลักฐาน ระเบิดแสวงเครื่องจาลองสูงถึงร้อยละ 14.7 และสูงกว่ากระบวนการมาตรฐานของตารวจ พิสูจน์หลักฐานอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% 2023-11-21T03:21:51Z 2023-11-21T03:21:51Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19087 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ดีเอ็นเอ
spellingShingle ดีเอ็นเอ
เปรมกมล ต้นครองจันทร์
การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
description วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์), 2561
author2 ภูวดล ธนะเกียรติไกร
author_facet ภูวดล ธนะเกียรติไกร
เปรมกมล ต้นครองจันทร์
format Theses and Dissertations
author เปรมกมล ต้นครองจันทร์
author_sort เปรมกมล ต้นครองจันทร์
title การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
title_short การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
title_full การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
title_fullStr การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
title_full_unstemmed การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
title_sort การพัฒนาเทคนิคตรวจหาดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสบนหลักฐานระเบิดแสวงเครื่องโดยใช้สารเรืองแสง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2023
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19087
_version_ 1783957351757250560