ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่), 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19093 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-19093 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง การดูแล |
spellingShingle |
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง การดูแล รพีภัทร ชำนาญเพาะ ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
description |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่), 2561 |
author2 |
หทัยรัตน์ แสงจันทร์ |
author_facet |
หทัยรัตน์ แสงจันทร์ รพีภัทร ชำนาญเพาะ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
รพีภัทร ชำนาญเพาะ |
author_sort |
รพีภัทร ชำนาญเพาะ |
title |
ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
title_short |
ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
title_full |
ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
title_fullStr |
ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
title_full_unstemmed |
ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
title_sort |
ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2023 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19093 |
_version_ |
1783957352719843328 |
spelling |
th-psu.2016-190932023-11-21T08:30:25Z ประสบกาณ์การมีอาการ วิธีการจัดการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน Symptom Experiences Management Strategies and Stroke Severity of Patients with Acute Ischemic Stroke รพีภัทร ชำนาญเพาะ หทัยรัตน์ แสงจันทร์ Faculty of Nursing (Adult and Elderly Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง การดูแล พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผู้ใหญ่), 2561 This descriptive study aimed to investigate the relationship between symptom experiences, symptom management strategies, and stroke severity among patients with acute ischemic stroke, who were admitted in hospital and received stroke fast tract management within 4.5 hours. The 125 subjects were purposively selected following the inclusion criteria. The set of instruments comprised (1) the Demographic Data and Illness History Sheet, (2) the Acute Ischemic Stroke Symptom Experiences Questionnaire (scale 0-1), (3) the Acute Ischemic Stroke Symptom Management Strategy Record (scale 0-1), and (4) the National Institutes of Health Stroke Scale [NIHSS] (scale 0-42), which were validated by three experts. Test-retest was applied to evaluate the reliability of the Acute Ischemic Stroke Symptom Experiences Questionnaire, and yielded a percentage agreement of .95. The reliability of the Symptom Management Strategies Questionnaire was examined and yielded Kuder-Richardson (KR-20) of 0.72. The inter-rater reliability of the NIHSS was .98. The data were analyzed using descriptive statistics, Pearson Product Moment Correlation, and Spearman Rank Correlation. The result showed the following: 1. The mean score of total symptom experiences was at a moderate level (M = 0.40, SD = 0.17), the mean score of the perception of symptoms was at a moderate level (M = 0.44, SD = 0.16), the mean score of the evaluation of symptoms was at a moderate level (M = 0.39, SD = 0.17), and the mean score of the response to symptoms was at a moderate level (M = 0.39, SD = 0.17) 2. The mean score of total symptom management strategies was at a moderate level (M = 0.66, SD = 0.33), the mean score of pre-hospital symptom management was at a moderate level (M = 0.62, SD = 0.33), and the mean score of in-hospital symptom management was at a high level (M = 0.86, SD = 0.09) 3. The mean score of initial stroke severity was at a moderate level (M = 7.8, SD = 4.7) and the median of stroke severity after 24 hours was at a low level (Mdn = 2.00, IQR = 5.00) 4. There were significant positive correlations between both the symptom experiences and the symptom management strategies and the initial stroke severity (r = .217, p < .05; r = .384, p < .05 respectively) 5. There were significant positive correlations between both the symptom management strategies and the initial stroke severity and the stroke severity 24 hours after treatment (r = .478, p < .05; r = .355, p < .01 respectively) The findings of this study should benefit to nurses and health care providers to promote people’s perception of symptoms of acute ischemic stroke. They would better able to manage and gain immediate access to stroke fast track. This could effectively decrease stroke severity. การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการ วิธีการจัดการอาการ และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลที่มีช่องทางด่วนในการดูแลรักษาโรคหลอดเลือดสมองภายใน 4.5 ชั่วโมง กลุ่มตัวอย่าง 125 ราย คัดเลือกแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กาหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย (2) แบบสอบถามประสบการณ์การมีอาการโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน (0-1 คะแนน) (3) แบบบันทึกวิธีการจัดการอาการของโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน (0-1 คะแนน) (4) แบบประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง (National Institutes of Health Stroke Scale: NIHSS) (0-42 คะแนน) ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามประสบการณ์การมีอาการโดยการทดสอบซ้า (test-retest reliability) ได้ค่าความสอดคล้องของการตอบซ้า (percent of agreement) เท่ากับ .95 แบบบันทึกวิธีการจัดการอาการมีค่าความเที่ยงจากการคานวณ KR-20 เท่ากับ .72 แบบประเมินความรุนแรง ของโรคหลอดเลือดสมองตรวจสอบความเที่ยงโดยการหาความตรงกันของการประเมิน (inter-rater reliability) ได้ค่าความสอดคล้องเท่ากับ .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) และสัมประสิทธิ์สหหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman Rank Correlation) ผลการศึกษา พบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยของประสบการณ์การมีอาการโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 0.40, SD = 0.17) โดยการรับรู้อาการอยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 0.44, SD = 0.16) การประเมินความรุนแรงของอาการอยู่ในระดับปานกลาง (M = 0.39, SD = 0.17) และการตอบสนองต่ออาการอยู่ในระดับปานกลาง (M = 0.39, SD = 0.17) 2. คะแนนเฉลี่ยของวิธีการจัดการกับอาการของกลุ่มตัวอย่างมีวิธีการจัดการอาการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 0.66, SD = 0.33) โดยการจัดการอาการระยะการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง (M = 0.62, SD = 0.33) และการจัดการอาการระยะการดูแลในโรงพยาบาลอยู่ในระดับมาก (M = 0.86, SD = 0.09) 3. คะแนนเฉลี่ยของความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองแรกรับอยู่ในระดับ ปานกลาง ( M = 7.8, SD = 4.7) และค่ากลางของความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองภายหลังได้รับการรักษา 24 ชั่วโมงอยู่ในระดับน้อย (Mdn = 2.0, IQR = 5.0) 4. ประสบการณ์การมีอาการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับวิธีการจัดการอาการ และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองแรกรับ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r = .217, p < .05; r = .384, p < .01 ตามลาดับ) 5. วิธีการจัดการอาการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองแรกรับ และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองภายหลัง 24 ชั่วโมง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r = .478, p < .05; r = .355, p < .01 ตามลาดับ) ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์สาหรับพยาบาลและบุคลากรสุขภาพในการส่งเสริมการรับรู้อาการโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดของประชาชน ซึ่งช่วยให้สามารถจัดการและเข้าถึงระบบช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองอย่างรวดเร็ว อันจะช่วยลดความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2023-11-21T08:30:25Z 2023-11-21T08:30:25Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19093 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |